Chapter 10 Exception Handling

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการความผิดพลาด
Advertisements

Handling Exceptions & database
Object Oriented Programming Handling Exceptions
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
จัดทำโดย ปราง เจริญสุข รหัสนิสิต Software.
การเผยแพร่เอกสาร (Publish)
วรวิทย์ พูลสวัสดิ์.  เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของระบบสารสนเทศ  แยกได้ลักษณะการพิมพ์และลักษณะการใช้งาน.
สมุทรปราการ นายวิญญู หมั่นการ นายนิพนธ์ เนยเมืองปัก
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
การรายงานผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
โครเมี่ยม (Cr).
การประเมินผลการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป BC Account Version 5.5 Standard สำหรับงานบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ พลอย ประสงค์ทรัพย์ กลุ่มงานบัญชี
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ผังงาน..(Flow Chart) หมายถึง...
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Introduction to VB2010 EXPRESS
Content Team: คู่มือการป้องกันสินค้าลอกเลียนแบบ 9 July 2015
Handling Exceptions & database
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
Chapter 5 การจัดการข้อผิดพลาด (Exception Handling)
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
Seminar 1-3.
Basic Input Output System
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การบริหารงานคลังสาธารณะ
Android Programming Getting Start Prawit Pimpisan Computer Science
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
Creating And Using Exceptions
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อทบทวนระบบการควบคุมภายใน
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
Project Project (โครงงาน) ปริญญานิพนธ์ กิจกรรมซึ่งดำเนินงานตามลำดับ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
Object-Oriented Programming Paradigm
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การปฐมนิเทศและการบรรจุ

SMS News Distribute Service
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
ผู้เข้าร่วมอบรมทุกท่าน
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
เล่าเรื่องอย่างผู้นำ Coaching by story
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 10 Exception Handling

Exception Handling Exception หมายถึงข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น ณ. โปรแกรมกำลังทำงาน Exception Handling เป็นกลไกการจัดการข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น โดยระบบโปรแกรมสามารถตอบสนองข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นตามที่ต้องการ เช่นข้อผิดพลาดที่เกิดจากการหารด้วยศูนย์ การหาไฟล์ไม่พบ Exception Handling สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นแล้วโยนข้อผิดพลาดไปยังการจัดการที่คอยดักจับที่กลั่นกรองแบบลดหลั่น

การเกิด Exception Exception ทุกอย่างจะแทนด้วยคลาสซึ่งรับทอดมาจากคลาส Throwable เมื่อเกิดข้อผิดพลาดจะมีการสร้างออบเจ็กต์ของความผิดพลาดชนิดนั้นเกิดขึ้น จาวาจะแยก exceptionออกเป็น 2 ประเภทคือ error และ exception error เป็นข้อผิดพลาดที่เกิดภายใน jvm และอยู่ในการควบคุมของ jvm exception เป็นข้อผิดพลาดจากคำสั่งของโปรแกรมสามารถควบคุมได้

การจัดการ exception ด้วย try…catch… block try block เป็นส่วนที่เราบรรจุคำสั่งที่คาดว่าจะเกิดข้อผิดพลาด catch block จะบรรจุคำสั่งที่จัดการข้อผิดพลาดที่ตรงกับชนิดข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นใน try…block

Jvm จะคอยตรวจสอบข้อผิดพลาดtry block เมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้น ข้อผิดพลาดนั้นจะถูกโยนออกจาก try block ไปจัดการที่ catch block ทันที ถ้าไม่มีข้อผิดพลาดการทำงานเกิดขึ้น try block ก็จะจบการทำงานแบบปกติ

ArrayIndexOutOfBoundsException.

การสร้าง exception ใน try…block

เราสามารถให้ jvm จัดการข้อผิดพลาดมาตรฐานได้ ถึงจะได้ข้อมูลเกี่ยวกับข้อผิดพลาดช่วยแก้ไขโปรแกรม แต่ไม่เป็นประโยชน์ต่อคนอื่น จึงควรจัดการเองแบบที่ผ่านมา

ArithmeticException

Multiple catch Statements

output

การใช้ Throwable ทำงานแทนคลาส exception ย่อย โดยต้องเขียน sub class ไว้หน้า Throwable

output

การเขียน try…blockซ้อนกัน

output

การเขียน throw ด้วยตัวเอง เราสามารถส่งข้อผิดพลาดไป catch block แทน jvm ด้วย

การ rethrow

การใช้ Throwable

การใช้ finally ใช้สำหรับบรรจุคำสั่งหลังจากทำ try…catch เสร็จแล้ว

การใช้ throws บางครั้งต้องการจัดการข้อผิดพลาดบางอย่างภายในเมธอด เราสามารถใช้ throws โดยใช้คำสั่ง

Java’s Built-in Exceptions

การสร้าง exception ขึ้นเอง