Resistors on PCB Resistors (axial components with color bands.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
Advertisements

หน่วยที่ 18 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 2
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
ที่มีตัวต้านทานไฟฟ้า
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
Ch 2 Resistive Circuits วงจรซึ่งประกอบไปด้วย Resistors กับ Sources วงจรซึ่งประกอบไปด้วย Resistors กับ Sources กฎหลักพื้นฐานของการวิเคราะห์วงจรมี 2 ข้อคือ.
โดย คุณครูนัฏฐา อัครวงษ์ โรงเรียนวังข่อยพิทยา
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G คือ โทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่สาม หรือมาตรฐาน IMT-2000 นั้นนิยามสั้นๆ เพื่อให้เข้าใจ ตรงกันว่า “ ต้องมี แพลทฟอร์ม (Platform) สำหรับการหลอมรวมของบริการต่างๆ.
บทที่ 6 เรื่องกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
Gas Turbine Power Plant
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
เริ่มต้นออกแบบ Unit7.
ความเค้นและความเครียด
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
การผลิตงานจากโลหะผง คุณลักษณะของโลหะผงที่สำคัญ กรรมวิธีผลิตโลหะผง
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
DC Voltmeter.
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
อิเล็กทรอนิกส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
Basic Electronics.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Watt Meter.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
การอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
ชนิด สมบัติ และการใช้ประโยชน์ของวัสดุ
งานเชื่อมโลหะโดยเครื่องเชื่อมไฟฟ้า
เรื่อง อันตรายของเสียง
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
แผ่นดินไหว.
บทที่ 3 สายเคเบิลเส้นใยแก้ว
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
สแกนเนอร์ (Scanner) สแกนเนอร์ คืออุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้
SMS News Distribute Service
ตัวต้านทานไฟฟ้า (Resistor)
การหักเหของแสง การหักเหของแสง คือ การที่แสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งที่มีความหนาแน่นต่างกันจะทำให้แสงมีความเร็วต่างกันส่งผลให้ทิศทางของแสงเปลี่ยนแปลงไป.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
บทที่ 11 พัลส์เทคนิค
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
Electrical Instruments and Measurements
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Resistors on PCB Resistors (axial components with color bands

นิยาม “ ความต้านทาน (Resistance) ความสามารถในการต้านทานการไหลของกระแสไฟฟ้า” หน่วยของความต้านทาน โอห์ม (Ohm) :  “ ตัวต้านทาน (Resistor) อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งที่สามารถต้านทานการไหลของกระแสไฟฟ้าได้ ” This session only focuses on ohms law 2 2

ชนิดของตัวต้านทาน ตัวต้านทานชนิดค่าคงที่ ตัวต้านทานชนิดแบ่งค่าได้ ตัวต้านทานชนิดเปลี่ยนเลือกค่า ตัวต้านทานชนิดปรับเปลี่ยนค่า ตัวต้านทานชนิดพิเศษ This session only focuses on ohms law 3 3

ตัวต้านทานชนิดค่าคงที่ (Fixed Resistor) “ ตัวต้านทานที่มีความต้านทานคงที่ ” 1. ตัวต้านทานชนิดคาร์บอนผสม (Carbon Composition)  2. ตัวต้านทานแบบฟิล์มโลหะ ( Metal Film)  3. ตัวต้านทานแบบฟิล์มคาร์บอน ( Carbon Film)  4. ตัวต้านทานแบบไวร์วาวด์ (Wire Wound)  5. ตัวต้านทานแบบแผ่นฟิล์มหนา ( Thick Film Network)  6. ตัวต้านทานแบบแผ่นฟิล์มบาง ( Thin Film Network) This session only focuses on ohms law 4 4

1. ตัวต้านทานชนิดคาร์บอนผสม (Carbon Composition) This session only focuses on ohms law 5 5

2. ตัวต้านทานแบบฟิล์มโลหะ ( Metal Film) ทำมาจากแผ่นฟิล์มบางของแก้วและโลหะหลอมเข้าด้วยกันแล้วนำไปเคลือบที่เซรามิค ทำเป็นรูปทรงกระบอก ขั้นตอนสุดท้ายจะทำการเคลือบด้วยสาร Epoxy ตัวต้านทานชนิดนี้มีค่าความผิดพลาดบวกลบ 0.1% ถึงประมาณบวกลบ 2% ซึ่งถือว่ามีค่าความผิดพลาดน้อยมาก ทนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิจากภายนอกได้ดี สัญญาณรบกวนน้อยเมื่อเทียบกับตัวต้านทานชนิดอื่น ๆ This session only focuses on ohms law 6 6

3. ตัวต้านทานแบบฟิล์มคาร์บอน ( Carbon Film) This session only focuses on ohms law 7 7

4. ตัวต้านทานแบบไวร์วาวด์ (Wire Wound)   โครงสร้างจะใช้ลวดพันลงบนเส้นลวดแกนเซรามิค แล้วต่อลวดตัวนำด้านหัวและท้ายของเส้นลวดที่พัน ส่วนค่าความต้านทานขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้ทำเป็นลวดตัวนำ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของแกนเซรามิค และความยาวของลวดตัวนำ จากนั้นจะเคลือบด้วยสารประเภทเซรามิคบริเวณรอบนอกอีกครั้งหนึ่ง ค่าความต้านทานของตัวต้านทานแบบนี้จะมีค่าต่ำเพราะต้องการให้มีกระแสไหลได้สูง ทนความร้อนได้ดี สามารถระบายความร้อนโดยใช้อากาศถ่ายเท This session only focuses on ohms law 8 8

5. ตัวต้านทานแบบแผ่นฟิล์มหนา ( Thick Film Network) SMD SIL    โครงสร้างของตัวต้านทานแบบนี้ทำมาจากแผ่นฟิล์มหนา มีรูปแบบแตกต่างกันขึ้นอยู่กับการใช้งาน แสดงตัวต้านทานแบบแผ่นฟิล์มหนาประเภทไร้ขา (Chip Resistor) ตัวต้านทานแบบนี้ต้องใช้เทคโนโลยี SMT (Surface Mount Technology) ในการผลิต มีอัตราทนกำลังประมาณ 0.063 วัตต์ ถึง 500 วัตต์ ค่าความคลาดเคลื่อนบวกลบ 1% ถึง บวกลบ 5% This session only focuses on ohms law 9 9

6. ตัวต้านทานแบบแผ่นฟิล์มบาง ( Thin Film Network)     โครงสร้างของตัวต้านทานแบบนี้ทำมาจากแผ่นฟิล์ม รูปร่างเหมือนกับตัวไอซี (Integrate Circuit) ใช้เทคโนโลยี SMT ในการผลิต มีขาทั้งหมด 16 ขา การใช้งานต้องบัดกรีเข้ากับแผ่นลายวงจร อัตราทนกำลัง 50 มิลลิวัตต์ มีค่าความคลาดเคลื่อนบวกลบ 0.1% และอัตราทนกำลัง 100 มิลลิวัตต์ จะมีค่าความคลาดเคลื่อนบวกลบ 5% ที่แรงดันไฟฟ้าสูงสุดไม่เกิน 50 VDC This session only focuses on ohms law 10 10

Resistor Examples Through-hole Resistors SMT Components Source: Basic Electronics, Bernard Grob Through-hole Resistors SMT Components http://www.wordiq.com/definition/Resistor (Larger size often indicates higher power rating)

Resistor Code SIL (Single In-Line) network: Ref: http://www.lalena.com/audio/electronics/color/ SIL (Single In-Line) network: The 4 and 7 are significant digits and the 3 is the decade, giving 47 x 1000 or 47 KW The letter after the numbers is the tolerance. The different representations are: M=±20%, K=±10%, J=±5%, G=±2%, F=±1%. Detail Spec: http://www.vishay.com/docs/31509/csc.pdf SMD (Surface Mount Device): The 1 and 0 are significant digits and 3 is the decade, giving 10 x 1000 or 10 KW Direct Value: Resistors with larger physical size are often printed the value directly on their body

การเลือกขนาดกำลังของตัวต้านทานไปใช้ในวงจร ตัวต้านทานจะมีขนาดต่าง ๆ กัน ทั้งตัวเล็กและใหญ่ ถึงแม้ว่าค่าความต้านทานจะเท่ากันก็ตาม ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่าเราต้องทำขนาดให้เหมาะกับงาน ตัวเล็ก ๆ ใช้กับงานที่มีกระแสไหลผ่านน้อย ๆ พื้นที่ในวงจรจำกัด ส่วนตัวขนาดใหญ่ใช้ในวงจรที่มีกระแสไหลผ่านสูง หากนำตัวต้านทานขนาดเล็กไปใช้ในงานที่มีกระแสไหลผ่านมาก ๆ จะทำให้ตัวต้านทานร้อนและไหม้ ในที่สุด ตัวต้านทานแบบคาร์บอนจะมีขนาดเล็ก เช่น 1/8 -1 หรือ 2 วัตต์ ตัวต้านทานที่ทำจากลวดพันมักจะทนกำลังได้สูงกว่าเช่นตั้งแต่ 3 -200 วัตต์ This session only focuses on ohms law 13 13

Resistor with Different Power Ratings Examples: 2 Watts 1 Watt 0.5 Watt 0.25 Watt The size indicates the power rating, NOT the resistance value

5 6 00 6 8 000 1 5 = 5.6KW ผิดพลาด 5% เติมสองศูนย์หรือ x 10 สีทอง 2 = 5.6KW ผิดพลาด 5% สีทอง 6 8 000 เติมสามศูนย์หรือ x 10 3 = 68KW ผิดพลาด 1% สีน้ำตาล 1 5 = 1.5KW

Resistor Color Code PPM = Part per million PPM http://www.oilfield.de/download/techtabs/electron/ccode001.pdf 17 17

อ่านค่าสีตัวต้านทาน Ω Ω Ω Ω Ω Ω Ω Ω

Standard Resistor Values Electronic Industries Association (EIA) standard E24: Standard E24 specifies resistors based on 5% tolerance (often resistor of this category has 2% tolerance now a days due to advancement of manufacturing techniques) Standard Resistor values = 100 110 120 130 150 160 180 200 220 240 270 300 330 360 390 430 470 510 560 620 680 750 820 910 × 10M Ohms (Where M can be any integer, positive or negative) For other standards: http://www.logwell.com/tech/components/resistor_values.html

กำลังวัตต์ของตัวต้านทาน ตัวต้านทานจะมีขนาดต่าง ๆ กัน ทั้งตัวเล็กและใหญ่ ถึงแม้ว่าค่าความต้านทานจะเท่ากันก็ตาม ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่าเราต้องทำขนาดให้เหมาะกับงาน ตัวเล็ก ๆ ใช้กับงานที่มีกระแสไหลผ่านน้อย ๆ พื้นที่ในวงจรจำกัด ส่วนตัวขนาดใหญ่ใช้ในวงจรที่มีกระแสไหลผ่านสูง หากนำตัวต้านทานขนาดเล็กไปใช้ในงานที่มีกระแสไหลผ่านมาก ๆ จะทำให้ตัวต้านทานร้อนและไหม้ ในที่สุด ตัวต้านทานแบบคาร์บอนจะมีขนาดเล็ก เช่น 1/8 -1 หรือ 2 วัตต์ ตัวต้านทานที่ทำจากลวดพันมักจะทนกำลังได้สูงกว่าเช่นตั้งแต่ 3 -200 วัตต์ The size indicates the power rating, NOT the resistance value

ตัวต้านทานแบบเปลี่ยนค่าได้ (Variable Resistor) โครงสร้างภายในทำมาจากคาร์บอนเซรามิค หรือพลาสติกตัวนำ ใช้ในงานที่ต้องการเปลี่ยนค่าความต้านทานบ่อย ๆ เช่น ในเครื่องรับวิทยุ, โทรทัศน์ เพื่อปรับลดหรือเพิ่มเสียง, ปรับลดหรือเพิ่มแสงในวงจรหรี่ไฟ มีอยู่หลายแบบขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เช่น โพเทนชิโอมิเตอร์ (Potentiometer) หรือพอต (Pot) สำหรับชนิดที่มีแกนเลื่อนค่าความต้านทานหรือแบบที่มีแกนหมุนเปลี่ยนค่าความต้านทานคือโวลลุ่ม (Volume) เพิ่มหรือลดเสียงมีหลายแบบให้เลือกคือ 1 ชั้น, 2 ชั้น และ 3 ชั้น เป็นต้น ส่วนอีกแบบหนึ่งเป็นแบบที่ไม่มีแกนปรับโดยทั่วไปจะเรียกว่า โวลลุ่มเกือกม้า หรือทิมพอต (Trimpot)

Variable Resistor Examples

แอลดีอาร์ (LDR : Light Dependent Resistor) เมื่อมีแสงมาตกกระทบที่ LDR จะทำให้ค่าความต้านทานภายในตัว LDR ลดลง จะลดลงมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับแสงที่ตกกระทบ - กรณีที่ไม่มีแสงหรืออยู่ในตำแหน่งที่มืดค่าความต้านทานภายในตัว LDR จะมีค่าเพิ่มมากขึ้น

Resistor Specifications Value: Ohms (W) Tolerance: % of Ohmic value Safety Rating: Power in Watt Shape: Axial (mostly) Technology: Through-hole or SMD (Surface Mount Device)

Resistor Symbol 26