ศ.ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ ศ.ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ คณะนิติศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
องค์กรตามรัฐธรรมนูญ 1. ความเป็นมาของ “องค์กรตามรัฐธรรมนูญ 2. ข้อความคิดทั่วไปเกี่ยวกับ “องค์กรตามรัฐธรรมนูญ” 3. ระบบและองค์กรควบคุมตรวจสอบตามรัฐธรรมนูญ 4. ระบบการควบคุมตรวจสอบโดยองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
1. ความเป็นมาของ “องค์กรตามรัฐธรรมนูญ 1. ความเป็นมาของ “องค์กรตามรัฐธรรมนูญ 1.1 การปฏิรูปการเมืองตามรัฐธรรมนูญ 2540 1.2 ความเปลี่ยนแปลงตามรัฐธรรมนูญ 2550
1.1 การปฏิรูปการเมืองตามรัฐธรรมนูญ 2540 สาระสำคัญของการปฏิรูปการเมืองตามรัฐธรรมนูญ 2540 1. ให้หลักประกันสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ 2. ปรับเรื่องโครงสร้างทางการเมือง - วุฒิสภาเป็นองค์กรที่เป็นกลางทางการเมือง - ระบบการเลือกตั้ง 3. ให้มีองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ – กกต., ปปช., คตง., ผู้ตรวจการฯ, คณะกรรมการสิทธิฯ 4. กำหนดให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น
1.2 ความเปลี่ยนแปลงตามรัฐธรรมนูญ 2550 (1) คงให้มีองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญไว้ – กกต., ปปช., คตง., ผู้ตรวจการแผ่นดิน, คณะกรรมการสิทธิฯ - แต่มีการปรับปรุงอำนาจหน้าที่ (2) แยกประเภทองค์กรตามรัฐธรรมนูญออกเป็น ๒ ประเภท ก. องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ – กกต., ปปช., คตง.,ผู้ตรวจการฯ ข องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ – องค์กรอัยการ, คกก.สิทธิ, ฯลฯ (๓) ปรับปรุงคณะกรรมการสรรหาใหม่
2. ข้อความคิดทั่วไปเกี่ยวกับ “องค์กรตามรัฐธรรมนูญ” 2. ข้อความคิดทั่วไปเกี่ยวกับ “องค์กรตามรัฐธรรมนูญ” 2.1 เกณฑ์ของการเป็น “องค์กรตามรัฐธรรมนูญ” 2.2 ประเภทขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ
2.1 เกณฑ์ของการเป็น “องค์กรตามรัฐธรรมนูญ” 2.1.1 เกณฑ์ในทางรูปแบบ (1) พิจารณาจากการก่อตั้ง (2) พิจารณาจากอำนาจหน้าที่ 2.1.2 เกณฑ์ในทางเนื้อหา (1) พิจารณาจากบทบาทหน้าที่ (2) พิจาณาในแง่ความเป็นอิสระ (3) พิจารณาในแง่สถานะและความสัมพันธ์กับองค์กรอื่น
2.2 ประเภทขององค์กรตามรัฐธรรมนูญ (1) องค์กรตามรัฐธรรมนูญที่เป็นองค์กรทางการเมือง (2) องค์กรตามรัฐธรรมนูญที่เป็นองค์กรตุลาการ (3) องค์กรตามรัฐธรรมนูญที่ไม่ใช่องค์กรทางการเมืองและ ไม่ใช่องค์กรตุลาการ ซึ่งหมายถึง “องค์กรอิสระตาม รัฐธรรมนูญ” คือ ก.ก.ต., ป.ป.ช, ค.ต.ง.,ผู้ตรวจการ แผ่นดินของรัฐสภา ฯลฯ
3. ระบบและองค์กรควบคุมตรวจสอบตามรัฐธรรมนูญ 3.1 ระบบการควบคุมตรวจสอบทางการเมือง 3.2 ระบบการควบคุมตรวจสอบโดยองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ 3.3 ระบบการควบคุมตรวจสอบโดยองค์กรตุลาการ
3.1 ระบบการควบคุมตรวจสอบทางการเมือง 3.1.1 การขออภิปรายมี 4 กรณี (1) ไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี (มาตรา 185) (2) ไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคล (มาตรา 186) (3) ขอเปิดอภิปรายทั่วไปของวุฒิสภา (มาตรา 187) (4) การเปิดอภิปรายทั่งไปตามมาตรา 213
3.1 ระบบการควบคุมตรวจสอบทางการเมือง 3.1.2 การตั้งกระทู้ถาม (1) กรณีของ ส.ส. และ ส.ว. (มาตรา 183) (2) เฉพาะของ ส.ส. (มาตรา 184) 3.1.3 การตั้งกรรมาธิการ ตามมาตรา 189 3.1.4 การถอดถอนออกจากตำแหน่ง ตามมาตรา 303
3.2 ระบบการควบคุมตรวจสอบโดยองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ 3.2.1 ประเภทของการควบคุมตรวจสอบ (1) ระบบการควบคุมตรวจสอบทั่วไป - ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา (2) ระบบการควบคุมตรวจสอบการเลือกตั้ง - คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ก.ก.ต.)
3.2 ระบบการควบคุมตรวจสอบโดยองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ (3) ระบบการควบคุมตรวจสอบการเงินและการคลัง - คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (ค.ต.ง.) (4) ระบบการควบคุมตรวจสอบการทุจริตและคอรัปชั่น - คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)
3.3 ระบบการควบคุมตรวจสอบโดยองค์กรตุลาการ 3.3.1 ศาลรัฐธรรมนูญ 3.3.2 ศาลปกครอง 3.3.3 ศาลยุติธรรม
3.3.1 ศาลรัฐธรรมนูญ อำนาจหน้าที่ ดังนี้ (1) ควบคุมความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย (ก) ร่างพระราชบัญญัติตามมาตรา ๑๕๔ (ข) การตรวจสอบร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญตาม มาตรา ๑๔๑ (ค) การตรวจสอบแบบนามธรรม - ตามมาตรา ๒๔๕ - ตามมาตรา ๒๕๗
3.3.1 ศาลรัฐธรรมนูญ (ต่อ) (2) วินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ขององค์กรต่างๆ ตามรัฐธรรมนูญ (3) วินิจฉัยปัญหาที่เกี่ยวกับพรรคการเมือง (4) ตรวจสอบการดำเนินงานภายในวงงานของรัฐสภา (5) วินิจฉัยเรื่องคุณสมบัติและสมาชิกภาพของสมาชิกรัฐสภา รัฐมนตรี และกรรมการการเลือก
3.3.2 ศาลปกครอง อำนาจหน้าที่วินิจฉัยคดีปกครอง (1) การกระทำใช้อำนาจฝ่ายเดียว (มาตรา 9 (1)) (2) ละเลยหรือล่าช้า (3) ละเมิดทางปกครองและความรับผิดอย่างอื่น (มาตรา 9 (3)) (4) สัญญาทางปกครอง (มาตรา9 (4))
3.3.3 ศาลยุติธรรม - มาตรา 218 ของรัฐธรรมนูญ (1) อำนาจศาลยุติธรรมทั่วไป - มาตรา 218 ของรัฐธรรมนูญ (2) ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง