เครื่องมือและประเภทนโยบาบสาธารณะ
นโยบายสาธารณะ เครื่องมือที่สำคัญของรัฐในการบริหารประเทศ ทิศทางการพัฒนาของประเทศ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับประชากรของประเทศทั้ง ทางตรง และทางอ้อม
พระปฐมบรมราชโองการ
ความหมายนโยบายสาธารณะ Thomas R. Dye สิ่งที่รัฐบาลเลือกที่จะกระทำหรือไม่กระทำ
ความหมายนโยบายสาธารณะ David Easton การจัดสรรผลประโยชน์ หรือคุณค่าแก่สังคม โดยบุคคลผู้มีอำนาจสั่งการ จากการจัดสรรค่านิยมทางสังคม
ความหมายนโยบายสาธารณะ James Anderson การปฏิบัติของรัฐที่มีวัตถุประสงค์ โดยคนๆเดียว หรือคณะบุคคล ต้องมีวัตถุประสงค์/แนวทางปฏิบัติ/ปฏิบัติจริง/ ผลเชิงบวก หรือเชิงลบ
ความหมายนโยบายสาธารณะ Ire Sharkansky กิจกรรมที่กระทำโดยรัฐทั้งหมด การดำเนินงานของหน่วยงานของรัฐ
ความหมายนโยบายสาธารณะ Carl J. Friedrich ข้อเสนอเกี่ยวกับการกระทำของบุคคล กลุ่ม หรือรัฐ ภายใต้สิ่งแวดล้อมที่ประกอบด้วยปัญหา อุปสรรค และโอกาส
ความหมายนโยบายสาธารณะ Lyntom Caldwell บรรดาการตัดสินใจอย่างสัมฤทธิ์ผล ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการต่างๆที่สังคมจะดำเนินการ ยินยอม หรือห้ามกระทำ
ความหมายนโยบายสาธารณะ Clarke Cochran ขั้นตอนการปฏิบัติที่เกิดขึ้นโดยเจตนา เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของหน่วยงาน หรือบุคลากรของรัฐ ในการแก้ปัญหาสาธารณะ
ความหมายนโยบายสาธารณะ Kennett Prewitt and Sidney Verba พันธะสัญญาระยะยาวในการดำเนินกิจกรรมอย่างเป็นแบบแผนของรัฐบาล การบัญญัติกฎหมายของฝ่ายนิติบัญญัติ การนำนโยบายไปปฏิบัติของรัฐบาล
ความหมายนโยบายสาธารณะ Heinz Eulau and Kennett Prewitt การตัดสินใจที่มีจุดยืนของรัฐบาล ซึ่งจะต้องมีการกระทำที่ต่อเนื่องสม่ำเสมอ การตัดสินใจที่เกี่ยวกับกิจกรรมที่มีพันธะผูกพัน
ความหมายนโยบายสาธารณะ Heugh Heclo ชุดการกระทำของรัฐบาล หรือสิ่งที่รัฐบาลไม่กระทำ หรือสิ่งที่รัฐบาลตกลงใจที่จะกระทำจริงๆ ประกอบด้วยชุดของการกระทำที่เป็นระบบ นำไปสู่การบรรลุเป้าหมายที่พึงปรารถนา
ความหมายนโยบายสาธารณะ Mark Considine มีการกำหนดความชัดเจนของค่านิยมและความตั้งใจของสังคม มีพันธะผูกพันในการจัดสรรงบประมาณ และบริการ ให้สิทธิ์ และเอกสิทธิ์แก่ประชาชน
ความหมายนโยบายสาธารณะ อมร รักษาสัตย์ ความคิดของรัฐบาล ที่ว่าจะทำอะไร หรือไม่ อย่างใด เพียงใด เมื่อใด ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ การกำหนดเป้าหมายหลักการ กลวิธีปฏิบัติ การเตรียมการสนับสนุน
ความหมายนโยบายสาธารณะ กุลธน ธนาพงศธร แนวทางกว้างๆของรัฐบาลของประเทศ กำหนดขึ้นเป็นโครงการ แผนงาน เป็นหนทางในการปฏิบัติต่างๆ
ความหมายนโยบายสาธารณะ ศุภชัย ยาวะประภาษ ทางดำเนินกิจกรรมที่ผ่านมาในอดีต กิจกรรมที่ดำเนินการอยู่ปัจจุบัน กิจกรรมที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต
สรุปความหมายนโยบายสาธารณะ ให้นิสิตสรุปความหมายตามความเข้าใจ
องค์ประกอบนโยบายสาธารณะ James Anderson การกระทำที่มีเป้าหมายชัดเจน แนวทางในการปฏิบัติงานสำหรับเจ้าหน้าที่ของ รัฐ สิ่งที่รัฐบาลควรกระทำ เพราะเป็นหน้าที่ของรัฐ เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของรัฐที่จะกระทำ หรืองดเว้น เอกสารที่มีผลทางกฎหมาย
องค์ประกอบนโยบายสาธารณะ Robert Lineburry and Ira Sharkanaky มีวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้อย่างชัดเจน ประกอบด้วยลำดับขั้น ที่มีแผนก่อให้เกิดการ บรรลุ การกระทำที่เลือกมาปฏิบัติได้อย่างสอดคล้องกับ เวลา และสถานที่ มีการประกาศให้ประชาชนทราบอย่างทั่วหน้า มีการปฏิบัติตามลำดับขั้นตอน
องค์ประกอบนโยบายสาธารณะ จุมพล หนิมพานิช มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน มีความสอดคล้องส่งเสริม กัน เป็นแนวทางปฏิบัติกว้างๆของรัฐบาล ผ่าน กระบวนการ มีความเป็นไปได้ในการนำนโยบายไปปฏิบัติ เป็นกิจกรรมที่ชอบด้วยกฎหมาย เป็นทางเลือกที่รัฐบาลจะกระทำ จากผลการ วิเคราะห์ มีการประกาศให้ประชาชนรับทราบ
ประโยชน์ของนโยบายสาธารณะ ทำให้ได้รับความรู้ความเข้าใจ ทำให้ทราบถึงกระบวนการสาธารณะ ทำให้ทราบถึงประสิทธิภาพสถาบันทางการเมือง ทำให้ทราบถึงวิธีการต่างๆในการวิเคราะห์
ความสำคัญของนโยบายสาธารณะ ความสำคัญต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความสำคัญในฐานะเป็นเครื่องมือในการพัฒนา ประเทศ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความสำคัญต่อประชาชน ปัญหา ป้องกัน พัฒนา ความสำคัญต่อนักการเมือง การจัดสรรคุณค่าทางสังคม ความสำคัญต่อนักบริหาร ประสิทธิผล/ประสิทธิภาพ ความสำคัญต่อนักวิชาการ วิเคราะห์/ประเมินผลนโยบาย
เครื่องมือในการพัฒนาประเทศ เครื่องมือของรัฐบาลในการสร้างเศรษฐกิจพอเพียง เครื่องมือของรัฐในการสร้างสังคมที่พึงประสงค์ สังคมคุณภาพ สังคมแห่งภูมิปัญญา และการเรียนรู้ สังคมสมานฉันท์ เครื่องมือของรัฐในการสร้างความมั่นคงแห่งชาติ การต่างประเทศ และการอำนวยความยุติธรรม เครื่องมือของรัฐในการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของ ประเทศ เครื่องมือของรัฐในการพัฒนาสังคม การแก้ปัญหา ความยากจน
นโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ หมวดที่ ๕ รัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๕๐ ความมั่นคง การบริหารราชการแผ่นดิน ศาสนา สังคม สาธารณสุข การศึกษา วัฒนธรรม กฎหมายและการยุติธรรม การต่างประเทศ
นโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ หมวดที่ ๕ รัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๕๐ เศรษฐกิจ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญา และพลังงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน
นโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 75 – 87 ให้รัฐดำเนินการตรากฎหมาย และกำหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน ในการแถลงนโยบายต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรีที่ จะเข้าบริหารราชการแผ่นดินต้องชี้แจงต่อรัฐสภา ให้ชัดแจ้งว่าจะดำเนินการใด ในระยะเวลาใด เพื่อให้เป็นไปตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ และต้องจัดทำรายงานแสดงผลการดำเนินการ รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคเสนอต่อรัฐสภาปีละหนึ่ง ครั้ง (มาตรา 75)
ด้านความมั่นคงของรัฐ รัฐต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่งเขตอำนาจ รัฐ และต้องจัดให้มีกำลังทหาร อาวุธ ยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัยจำเป็น และเพียงพอ เพื่อพิทักษ์รักษาเอกราช อธิปไตย ความมั่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย์ ผลประโยชน์แห่งชาติ และการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และเพื่อการพัฒนาประเทศ (มาตรา 77)
ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน บริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนา สังคม เศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศ อย่างยั่งยืน โดยต้องส่งเสริมการดำเนินการตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จัดระบบการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วน ภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น กระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจการของท้องถิ่น
ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการพัฒนา คุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรมของ เจ้าหน้าที่ของรัฐ จัดระบบงานราชการและงานของรัฐอย่างอื่น เพื่อให้การจัดทำและการให้บริการสาธารณะ เป็นไปอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้
ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ดำเนินการให้หน่วยงานทางกฎหมายที่มีหน้าที่ ให้ความเห็นเกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐตาม กฎหมายและตรวจสอบการตรากฎหมายของรัฐ ดำเนินการอย่างเป็นอิสระ จัดให้มีแผนพัฒนาการเมือง ดำเนินการให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ได้รับสิทธิประโยชน์อย่างเหมาะสม (มาตรา 78)
ด้านศาสนา รัฐต้องให้ความอุปถัมภ์และคุ้มครอง พระพุทธศาสนาซึ่งเป็นศาสนาที่ประชาชนชาว ไทยส่วนใหญ่นับถือมาช้านานและศาสนาอื่น ทั้งต้องส่งเสริมความเข้าใจอันดีและความ สมานฉันท์ระหว่างศาสนิกชนของทุกศาสนา รวมทั้งสนับสนุนการนำหลักธรรมของศาสนามา ใช้เพื่อเสริมสร้างคุณธรรมและพัฒนาคุณภาพ ชีวิต (มาตรา 79)
ด้านสังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม คุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบสุขภาพที่ เน้นการสร้างเสริมสุขภาพอันนำไปสู่สุขภาวะที่ ยั่งยืนของประชาชน พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษา ในทุกระดับและทุกรูปแบบ
ด้านสังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม ส่งเสริมและสนับสนุนการกระจายอำนาจเพื่อให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชนองค์การทาง ศาสนา และเอกชน จัดและมีส่วนร่วมในการ จัดการศึกษาเพื่อพัฒนามาตรฐานคุณภาพ การศึกษาให้เท่าเทียม ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยในศิลป วิทยาการแขนงต่าง ๆ ส่งเสริมและสนับสนุนความรู้รักสามัคคีและการ เรียนรู้ ปลูกจิตสำนึก และเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของ ชาติ ตลอดจนค่านิยมอันดีงามและภูมิปัญญา ท้องถิ่น(มาตรา 80)
ด้านกฎหมายและการยุติธรรม ดูแลให้มีการปฏิบัติและบังคับการให้เป็นไปตาม กฎหมายอย่างถูกต้อง รวดเร็วเป็นธรรม และ ทั่วถึง คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลให้พ้นจาก การล่วงละเมิด ทั้งโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐและโดย บุคคลอื่น และต้องอำนวยความยุติธรรมแก่ ประชาชนอย่างเท่าเทียมกัน
ด้านกฎหมายและการยุติธรรม จัดให้มีกฎหมายเพื่อจัดตั้งองค์กรเพื่อการปฏิรูป กฎหมายที่ดำเนินการเป็นอิสระเพื่อปรับปรุงและ พัฒนากฎหมายของประเทศ จัดให้มีกฎหมายเพื่อจัดตั้งองค์กรเพื่อการปฏิรูป กระบวนการยุติธรรมที่ดำเนินการเป็นอิสระ สนับสนุนการดำเนินการขององค์กรภาคเอกชนที่ ให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายแก่ประชาชน (มาตรา 81)
ด้านการต่างประเทศ รัฐต้องส่งเสริมสัมพันธไมตรีและความร่วมมือกับ นานาประเทศ และพึงถือหลักในการปฏิบัติต่อ กันอย่างเสมอภาค ตลอดจนต้องปฏิบัติตาม สนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็น ภาคี รวมทั้งตามพันธกรณีที่ได้กระทำไว้กับ นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศ รัฐ ต้องส่งเสริมการค้า การลงทุน และการ ท่องเที่ยวกับนานาประเทศ ตลอดจนต้องให้ ความคุ้มครองและดูแลผลประโยชน์ของคนไทย ในต่างประเทศ (มาตรา 82)
ด้านเศรษฐกิจ รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินการ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (มาตรา 83)
ด้านเศรษฐกิจ สนับสนุนระบบเศรษฐกิจแบบเสรีและเป็นธรรม โดยอาศัยกลไกตลาด และสนับสนุนให้มีการ พัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน สนับสนุนให้มีการใช้หลักคุณธรรม จริยธรรม และหลักธรรมาภิบาล ควบคู่กับการประกอบ กิจการ ควบคุมให้มีการรักษาวินัยการเงินการคลังเพื่อ สนับสนุนเสถียรภาพและความมั่นคงทาง เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
ด้านเศรษฐกิจ จัดให้มีการออมเพื่อการดำรงชีพในยามชราแก่ ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของรัฐอย่างทั่วถึง กำกับให้การประกอบกิจการมีการแข่งขันอย่าง เสรีและเป็นธรรม ดำเนินการให้มีการกระจายรายได้อย่างเป็น ธรรม รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา ภูมิปัญญาท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทย
ด้านเศรษฐกิจ ส่งเสริมให้ประชากรวัยทำงานมีงานทำ คุ้มครองแรงงานเด็กและสตรี จัดระบบแรงงาน สัมพันธ์ คุ้มครองและรักษาผลประโยชน์ของเกษตรกร รวมทั้งส่งเสริมการรวมกลุ่มของเกษตรกรในรูป ของสภาเกษตรกร ส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองระบบสหกรณ์ ให้เป็นอิสระ
ด้านเศรษฐกิจ จัดให้มีสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานอันจำเป็นต่อ การดำรงชีวิตของประชาชน การดำเนินการใดที่เป็นเหตุให้โครงสร้างหรือ โครงข่ายขั้นพื้นฐานของกิจการสาธารณูปโภค ขั้นพื้นฐานของรัฐอันจำเป็นต่อการดำรงชีวิต ของประชาชน ส่งเสริมและสนับสนุน กิจการพาณิชยนาวี การขนส่งทาง
ด้านเศรษฐกิจ ส่งเสริมและสนับสนุนองค์กรภาคเอกชนทาง เศรษฐกิจทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่นให้มี ความเข้มแข็ง ส่งเสริมอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทาง การเกษตรเพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มในทางเศรษฐกิจ (มาตรา 84)
ด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม กำหนดหลักเกณฑ์การใช้ที่ดินให้ครอบคลุมทั่ว ประเทศ โดยให้คำนึงถึงความสอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ทั้งผืนดิน ผืนน้ำ วิถีชีวิตของชุมชนท้องถิ่น กระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรมและ ดำเนินการให้เกษตรกรมีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิใน ที่ดินเพื่อประกอบเกษตรกรรมอย่างทั่วถึง
ด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม จัดให้มีการวางผังเมือง พัฒนา และ ดำเนินการตามผังเมืองอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล จัดให้มีแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและ ทรัพยากรธรรมชาติอื่นอย่างเป็นระบบและเกิด ประโยชน์ต่อส่วนรวม
ด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ส่งเสริม บำรุงรักษา และคุ้มครองคุณภาพ สิ่งแวดล้อมตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืนตลอดจน ควบคุมและกำจัดภาวะมลพิษที่มีผลต่อสุขภาพ อนามัย สวัสดิภาพ และคุณภาพชีวิตของ ประชาชน โดยประชาชน ชุมชนท้องถิ่น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (มาตรา 85)
ด้านวิทยาศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญา และพลังงาน ด้านวิทยาศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญา และพลังงาน ส่งเสริมให้มีการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านต่างๆ ส่งเสริมการประดิษฐ์หรือการค้นคิดเพื่อให้เกิด ความรู้ใหม่ รักษาและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น และภูมิปัญญาไทย รวมทั้งให้ความคุ้มครอง ทรัพย์สินทางปัญญา
ด้านวิทยาศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญา และพลังงาน ด้านวิทยาศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญา และพลังงาน ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และใช้ ประโยชน์จากพลังงานทดแทนซึ่งได้จาก ธรรมชาติและเป็นคุณต่อสิ่งแวดล้อม (มาตรา 86)
ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนด นโยบายและวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการตัดสินใจทางการเมืองการ วางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งการจัดทำบริการสาธารณะ
ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐทุก ระดับ ในรูปแบบองค์กรทางวิชาชีพหรือตาม สาขาอาชีพที่หลากหลาย หรือรูปแบบอื่น ส่งเสริมให้ประชาชนมีความเข้มแข็งในทาง การเมือง และจัดให้มีกฎหมายจัดตั้งกองทุน พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง
ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน ส่งเสริมและให้การศึกษาแก่ประชาชนเกี่ยวกับ การพัฒนาการเมืองและการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข การมีส่วนร่วมของประชาชนตาม มาตรานี้ต้องคำนึงถึงสัดส่วนของหญิงและชายที่ ใกล้เคียงกัน (มาตรา 87)
public policy ในอดีต คำพูดเพ้อฟันของผู้นำประเทศ ในอดีต คำพูดเพ้อฟันของผู้นำประเทศ ปัจจุบัน กฎหมายสูงสุดของประเทศ
ลักษณะของนโยบายสาธารณะ Complex Social Problems Interdisciplinary Approach ส่งเสริมเสถียรภาพ เอกภาพทางนโยบาย หลากหลายในการ ปฏิบัติ ต่อเนื่อง
ลักษณะของนโยบายสาธารณะ มีองค์ประกอบ การเมือง สังคม เศรษฐกิจ มุ่งให้เกิดการกระทำ ในอนาคต Goal มีปัจจัยสนับสนุน
วัตถุประสงค์ของนโยบายสาธารณะ แก้ปัญหาปัจจุบัน Quality Of Life เพื่อการพัฒนา Change For The Better พัฒนาให้ดีกว่า พัฒนาเพื่อแก้ปัญหา ป้องกัน ในอนาคต สร้างความเป็นธรรมในสังคม
ประเภทของนโยบายสาธารณะ Theodore Lowi นโยบายเกี่ยวกับการจัดระเบียบกฎเกณฑ์ นโยบายเกี่ยวกับการกระจายทรัพยากร นโยบายเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรใหม่ นโยบายต้นแบบ ระบบการเมือง สถาบัน การเมือง
ประเภทของนโยบายสาธารณะ Almond & Powell นโยบายเกี่ยวกับการจัดระเบียบกฎเกณฑ์ นโยบายเกี่ยวกับการกระจายทรัพยากร นโยบายเกี่ยวกับการนำทรัพยากรมาใช้ นโยบายเกี่ยวกับการตอบสนองความต้องการ ประชาชน นโยบายสัญลักษณ์ ธงชาติ อนุสาวรีย์
ประเภทของนโยบายสาธารณะ สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ นโยบายมุ่งเน้นขอบเขตเฉพาะด้าน (Sectoral Policy) และนโยบายมุ่งเน้นสถาบันกำหนด นโยบาย (Institution Policy)
ประเภทของนโยบายสาธารณะ สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ นโยบายมุ่งเน้นเนื้อหาสาระ (Substantive Policy) และนโยบาย มุ่งเน้นขั้นตอนการปฏิบัติ (Procedural Policy) What ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย How Who กระบวนการ/ขั้นตอน
ประเภทของนโยบายสาธารณะ สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ นโยบายมุ่งเน้นการควบคุมกำกับโดยรัฐ (Regulatory Policy) และนโยบาย มุ่งเน้นการควบคุมกำกับตนเอง (Self- Regulatory Policy)
ประเภทของนโยบายสาธารณะ สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ นโยบายมุ่งเน้นการกระจาย ผลประโยชน์ (Distributive Policy) และนโยบายมุ่งเน้นการกระจายความ เป็นธรรม (Redistributive Policy)
ประเภทของนโยบายสาธารณะ สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ นโยบายมุ่งเน้นเชิงวัตถุ (Material Policy) และนโยบายมุ่งเนินสัญลักษณ์ (Symbolic Policy)
ประเภทของนโยบายสาธารณะ สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ นโยบายมุ่งเน้นลักษณะเสรีนิยม (Liberal Policy) และนโยบายมุ่งเน้น ลักษณะอนุรักษ์นิยม (Conservative Policy)
ประเภทของนโยบายสาธารณะ สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ นโยบายมุ่งเน้นลักษณะสินค้าสาธารณะ (Policy Involving Public Goods) และ นโยบายมุ่งเน้นลักษณะสินค้าเอกชน (Policy Involving Private Goods)
ตัวแสดงในกระบวนการนโยบายสาธารณะ ตัวแสดงในภาครัฐ ตัวแสดงในภาคสังคม ตัวแสดงในระบบระหว่างประเทศ
ตัวแสดงในภาครัฐ เจ้าหน้าที่ภาครัฐที่มาจากการเลือกตั้ง ฝ่ายบริหาร/คณะรัฐมนตรี ฝ่ายนิติบัญญัติ เจ้าหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้ง ข้าราชการ กองทัพ
ตัวแสดงในภาคสังคม กลุ่มผลประโยชน์ กลุ่มผู้นำทางศาสนา สถาบันวิจัย สื่อสารมวลชน
ตัวแสดงในระบบระหว่างประเทศ AEC