บทที่ 9 โครงการ (Project) การเริ่มโครงการ (Project Initiation) ปัญหาจากระบบ ปัญหาจากการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ การคัดเลือกโครงการ (Selection of Project) ทำความเข้าใจกับโครงการ กำหนดขนาดของโครงการ ต้นทุน ความเป็นไปได้ทางเทคนิค คำอนุมัติ 7/15/2019
โครงการ (Project) การรวบรวมข้อมูลเพื่อทำการตัดสินใจ การทบทวนจากเอกสาร การสัมภาษณ์ การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) Operational Feasibility Technical Feasibility Economic Feasibility 7/15/2019
โครงการ Project การวางแผน และ ควบคุมกิจกรรมในโครงการ การประมาณเวลา > Gantt Chart > Pert Diagram 7/15/2019
การเริ่มโครงการ (Project Initiation) ปัญหาจากระบบ สังเกตจากพฤติกรรมของพนักงาน สังเกตการทำงานของระบบ ล้าช้า ทำงานไม่เสร็จ อาศัยปัญหาจากภายในระบบ และ นอกระบบ เช่น เสียงสะท้อนจาก ลูกค้า ยอดขายต่ำ 7/15/2019
การเริ่มโครงการ (Project Initiation) ปัญหาจากการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ หมายถึงการเปลี่ยนแปลงที่ทำให้เกิดผลตอบแทนที่ดีแก่องค์กร การปรับปรุงมีดังนี้ > เพิ่มความเร็วของขบวนการ > กำจัดขั้นตอนที่ไม่จำเป็น > การรวมขบวนการ > ลดข้อผิดพลาดของเอาต์พุต > ลดการซ้ำซ้อนของข้อมูล > ปรับปรุงการรวมระบบกับระบบย่อย > เพิ่มความพอใจของพนักงาน > เพิ่มความสะดวกแก่บุคคลภายนอก 7/15/2019
การเริ่มโครงการ (Project Initiation) ตัวอย่าง คำขอโครงการ WAHT IS THE PROBLEM? DETAILS OF PROBLEM. HOW SIGNIFICANT IS THE PROBLEM? WHAT DOES USER FEEL IS THE SOLUTION? HOW INFORMATION SYSTEM WILL HELP WHO ELSE KNOWS ABOUT THIS AND COLUD BE CONTACTED? 7/15/2019
การคัดเลือกโครงการ Selection of Projects ทำความเข้าใจกับโครงการ โครงการทำอะไร โครงการต้องการอะไร เหตุที่ยื่นโครงการ กำหนดขนาดของโครงการ พัฒนาระบบใหม่ หรือ ปรับปรุงระบบเดิม 7/15/2019
การคัดเลือกโครงการ Selection of Projects ต้นทุน และ ผลตอบแทน ต้นทุนในการพัฒนา ต้นทุนอบรม ต้นทุนติดตั้ง ความเป็นไปได้ทางเทคนิค เทคนิคใหม่เข้ากับเทคนิคเดิมหรือไม่ คำอนุมัติ การติดตั้งได้รับการอนุมัติ ต่อเมื่อระบบใหม่ให้ประโยชน์ต่อองค์กร 7/15/2019
การรวบรวมข้อมูลเพื่อทำการตัดสินใจ ทบทวนจากเอกสาร ศึกษาจากโครงการที่ยื่นขอ ศึกษาผังขององค์กร ศึกษาขบวนการสำคัญในองค์กร หมายเหตุ: เอกสารอาจไม่แสดงสถานในปัจจุบัน การสัมภาษณ์ ทราบรายละเอียดเพิ่มเติม เน้นส่วนที่ต้องการขอ 7/15/2019
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ Feasibility Study ความเป็นไปได้ทางปฏิบัติ (Operational Feasibility) ระบบสามารถดำเนินการได้ภายหลังการติดตั้ง ระหว่างการติดตั้งระบบอาจมีปัญหา เหล่านี้ ได้รับการสนับสนุนจากผู้ใช้หรือไม่ ระบบ ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับหรือไม่ ผู้ใช้ระบบมีส่วนว่างแผนหรือไม่ คำขอก่อประโยชน์ หรือ ข้อเสียหายต่อองค์กร 7/15/2019
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ Feasibility Study ความเป็นไปได้ทางเทคนิค (Technical Feasibility) เทคโนโลยีที่ต้องการใช้มีในตลาดหรือไม่ อุปกรณ์ที่เสนอสามารถเก็บข้อมูลที่ต้องการในระบบใหม่ได้หรือไม่ ระยะเวลาในการโต้ตอบเป็นอย่างไร (คิดตามจำนวนเครื่อง และ ระยะทาง) หากมีการพัฒนา ระบบสามารถขยายได้หรือไม่ มีเทคโนโลยีใดที่ประกัน ความถูกต้อง ความเชื่อถือ ง่ายต่อการเข้าถึง และ มีระบบป้องกัน 7/15/2019
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ Feasibility Study ความเป็นไปได้เชิงเศรษฐกิจ (Economic Feasibility) ต้นทุนในการพัฒนาระบบ ต้นทุนในการตรวจสอบ ต้นทุน ของ ฮาร์ดแวร์ และ ซอฟต์แวร์ ที่ใช้กับระบบ ผลกำไรจากการลดต้นทุน ผลกำไรอันเกิดจากการลดข้อผิดพลาด ต้นทุนเมื่อไม่มีการเปลี่ยนแปลง 7/15/2019
การวางแผนและควบคุมกิจกรรม Activity Planning and Control ระบบหนึ่งประกอบด้วยกิจกรรมหลายประเภท จึงต้องมีการ วางแผน และ ควบคุมกิจกรรมต่างๆให้เสร็จภายในกำหนด การวางแผน เกี่ยวกับการเลือกทีมงาน และ กำหนดระยะเวลา ในแต่ละกิจกรรม การควบคุม ดำเนินการให้เสร็จตามกำหนด หรือ มีการทบทวน ตารางเวลาหากงานล้าช้า 7/15/2019
การวางแผนและควบคุมกิจกรรม Activity Planning and Control การประมาณเวลา (Estimating Time Request) คือการกำหนดระยะเวลาการทำงานของแต่ละกิจกรรม ที่ประกอบกัน เป็นระบบ วิธีการประมาณเวลา นักวิเคราะห์แบ่งระบบ เป็นส่วนย่อย แบ่งส่วนย่อยลงอีก จนไม่สามารถแยกย่อยได้ กำหนดเวลาให้กับรายการย่อย เครื่องมือช่วยกำหนดระยะเวลา Gantt Chart PERT Diagram 7/15/2019
Activity Planning and Control ตัวอย่าง การกำหนดเวลาของกิจกรรมใน วงจรพัฒนาระบบ วงจรการพัฒนาระบบ อาจแบ่งการทำงานออกเป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ Analysis Data Gathering Data Flow and Decision Anaylsis Proposal Preparation Design Data Entry Design Input / Output Design Data Organization Information Implementation Evaluation 7/15/2019
Activity Planning and Control แบ่งส่วนย่อยลงอีก Phase Detail Activity Week Pro. Data Gathering Conduct InterviewAdminister Questionaires Read Company Repor Introduce Prototype Observe Reaction to Prototype 3 4 5 A B C D E Data Flow &... Analyze Data Flow 8 F Proposal Preparation Perform Cost /benefit Analysis G 7/15/2019
แผนภาพแกรนท์ (Gantt Chart) 7/15/2019
Gantt Chart A B C D E F G Completed Incompleted 7/15/2019 Current week
แผนภาพแกรนท์ Gantt Chart จากผัง กิจกรรม A, C เริ่มพร้อมกัน แต่กิจกรรม B เริ่มต่อเมื่อ กิจกรรม A เสร็จสิ้น กิจกรรม D, E เริ่มพร้อมกันภายหลังกิจกรรม B เสร็จ แท่งสีขวา แสดงถึงกิจกรรมยังไม่แล้วเสร็จ แท่งสีอ่อน แสดงว่ากิจกรรมแล้วเสร็จ แท่งที่มีสีผสมกัน แสดงว่าบางส่วนของกิจกรรมดำเนินการแล้ว Current Week เป็นตัวชี้ว่างานกว้าหน้าหรือ ล้าหลัง 7/15/2019
แผนภาพเพริทธ์ PERT Diagram เครื่องมือแสดงลำดับการทำงานกับเวลา ลักษณะคล้าย Network โหนด แสดงเหตุการณ์ (Event) โดยมีหมายเลข บอกลำดับ เช่น 10, 20 ขณะที่ลูกศร แสดงถึงกิจกรรม (activity) แสดงเส้นทางวิกฤติ พัฒนาโดย U.S Navy’s Polaris ปี ค.ศ 1950 7/15/2019
แผนภาพเพริทธ์ PERT Diagram ตัวอย่าง PERT ของกิจกรรมในวงจรพัฒนาระบบ หรือ กิจกรรมใน Gantt Chart 20 A,4 C,5 E,6 10 40 50 B,2 D,3 30 7/15/2019
แผนภาพเพริทธ์ PERT Diagram ระยะเวลาที่โครงการแล้วเสร็จ ได้จากการบวกเวลาตามเส้นลูกศร เส้นทาง ใน ผัง มี 2 ทาง คือ 10-20-40-50 ใช้เวลา 15 วัน และ 10-30-40-50 ใช้เวลา 11 วัน งานจึงจะแล้วเสร็จ เส้นทางวิกฤต คือ เส้นทางที่ใช้ เวลายาวที่สุด หากมีการล้าช้า ของ กิจกรรมใด ในเส้นทางวิกฤต จะทั้งโครงการล้าช้าไม่เสร็จตามกำหนด ขณะที่เส้นทางยืดหยุ่น สามารถล้าช้าได้ เพราะ ไม่กระทบโครงการ 7/15/2019
แผนภาพเพริทธ์ PERT Diagram กิจกรรมเทียม หรือ ดัมมี่ ใช้เพิ่มความชัดเจนแก่ผัง โครงการที่ 1 โครงการที่ 2 A,9 A,9 B,2 C,5 B,2 C,5 โครงการที่ 1 เส้นดัมมี่ หมายถึงกิจกรรม C เริ่มเมื่อ A,B เสร็จ ใช้ เวลา 9+5 = 14 วัน โครงการที่ 2 เส้นดัมมี่ หมายถึงกิจกรรม C สามารถเริ่มงานทันที่ที่ B เสร็จไม่ต้องรอ A ใช้เวลาเพียง 9 วัน 7/15/2019
แผนภาพเพริทธ์ PERT Diagram B,2 C,5 7/15/2019
แผนภาพเพริทธ์ PERT Diagram สาเหตุที่ใช้ PERT diagram แทน Gantt Chart ง่ายต่อการกำหนดขั้นตอนที่มาก่อนหน้า ง่ายต่อการกำหนดเส้นทางวิกฤต ง่ายต่อการกำหนดเส้นทางยืดหยุ่น 7/15/2019