แนวคิดและทฤฎียุคโลกาภิวัฒน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดและทฤฎียุคโลกาภิวัฒน์ KHANTHONG JAIDEE,Ph.D

การบริหาร Administration บริหารรัฐกิจ การจัดการ Management บริหารธุรกิจ เป็นทั้งศาสตร์ และ ศิลป์ เสมือนหัวก้อย แต่เป็นเหรียญเดียวกัน

4 M’s Man Money Material Management

Woodrow Wilson เป็นผู้เสนอแนวคิดให้แยกฝ่ายการเมือง ออกจากฝ่ายบริหาร มีหน้าที่ความรับผิดชอบในนโยบาย มีความรับผิดชอบต่อคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และประชาชน มีอำนาจสั่งการได้กว้างขวาง ควบคุมการปฏิบัติงานตามนโยบายและเป้าหมายให้ได้ผล มีหน้าที่รับผิดชอบต่อฝ่ายการเมือง มีความรับผิดชอบต่อผลงานที่ได้รับมอบหมาย มีหน้าที่ในการเสนอแนะให้ข้อมูลแก่ฝ่ายการเมือง รับผิดชอบในการวางแผนและโครงการต่าง ๆ ตลอดจนปฏิบัติตามแผนและโครงการ

พัฒนาการของการบริหาร ; Classical <1909 Max Weber ระบบราชการ เป็นสำนักงาน เอามาจากระบบทหาร เชื่อในระบบสั่งการตามสายบังคับบัญชา ใช้เชือกสีแดงผูกเอกสารแทนแฟ้ม Red Tape Thomas Hobbes เชื่อการปกครองโดยพระมหากษัตริย์ดีที่สุด John Locks เชื่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

Neo Classical 1910-1929 Federick W Taylor เขียนเรื่อง Time and Motion Study ใช้วิชาวิศวกรรมศาสตร์มาช่วยในการบริหาร ใช้หลัก Equal pay for Equal work มองคนเป็น Economic Man (เศรษฐทรัพย์) Taylor วิจัยพบวิธีจัดการตามหลักวิทยาศาสตร์ 3 ประการ คือ ใช้คนให้เหมาะกับงาน กำหนดมาตรฐานในการปฏิบัติงาน กำหนดเครื่องมือในการควบคุมงาน

Henry L Gant นำแนวคิดของ Taylor มาขยายเครื่องมือควบคุมงาน เรียก Gant Chart Henry Fayol ถือเป็น บิดาของการจัดการยุคใหม่ พบว่าหน่วยธุรกิจทุกแห่งจะมี 6 งาน คือ 1. งานเทคนิค 2. งานการค้า 3. งานการเงิน 4. งานด้านความปลอดภัย 5. งานบัญชี 6. งานจัดการ

Henry เสนอหลักการจัดการที่ดี 14 ข้อคือ การแบ่งงานกันทำ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ กำหนดสายบังคับบัญชา เอกภาพในการบังคับบัญชา ต้องมีวินัย ให้มีศูนย์กลางอำนาจ ให้มีเอกภาพในการอำนวยการ ให้มีเสถียรภาพในการปฏิบัติ ถือหลักประโยชน์ส่วนร่วมยิ่งกว่าส่วนตัว ถือความเป็นระเบียบ ถือหลักความเสมอภาค ถือหลักประโยชน์ตอบแทน ให้มีความคิดริเริ่ม ให้มีความสามัคคี

Humanistic 1930-1950 Elton G Mayo วิจัยเรื่อง Hawthorn Study เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการทำงาน แสงสว่าง ความสะอาด พบว่านายจ้างกับคนงานมักขัดแย้งเสมอ ควรแก้ปัญหาโดยมนุษย์สัมพันธ์

Modern System > 1951 Chester I Barnard เน้นความสัมพันธ์ไม่เป็นทางการระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง Herbert A Simon สร้างศาสตร์สาขา วิทยาการจัดการ Management Science และ Decision Making Peter F Drucker เขียนการบริหารโดยวัตถุประสงค์ Management by Objective (MBO) Luther Gulick & Lyndal Urwick เขียน POSDCoRB

Douglas Macgregor เขียนทฤษฎี X Y มนุษย์ส่วนใหญ่เกียจคร้าน ชอบหลบหลีกงานเมื่อมีโอกาส ชอบทำตามที่สั่งและผู้ควบคุม ชอบปัดความรับผิดชอบ ชอบความมั่นคงอบอุ่นปลอดภัย ขาดความริเริ่มสร้างสรรค์ มนุษย์ส่วนใหญ่ขยัน ชีวิตมนุษย์คือการทำงาน ทำ พัก และเล่นไปในตัว มีวินัยในตนเอง มีความรับผิดชอบ หวังรางวัลหรือสิ่งตอบแทนเมื่อองค์กรประสบผลสำเร็จ มีความริเริ่มสร้างสรรค์

Federick Herzberg เขียนทฤษฎี 2 ปัจจัย Motivator Factors Hygiene Factors ความสำเร็จของงาน การได้รับการยกย่องชมเชย ลักษณะของงาน ความรับผิดชอบ โอกาสก้าวหน้า การได้รับการพัฒนา นโยบายและการบริหารงาน การนิเทศงาน ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน สภาพการทำงาน เงินเดือนและผลประโยชน์เกื้อกูล สถานภาพในการทำงาน ความมั่นคง

บทที่ 2 แนวคิดเกี่ยวกับองค์การ กลุ่มคนที่ร่วมกันประกอบกิจการงานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยมีการจัดระเบียบไว้ ประเภทขององค์การ แบ่งตามความมุ่งหมายที่จัดตั้ง 4 ประเภท องค์การเพื่อประโยชน์ของสมาชิก เช่น สหกรณ์ องค์การธุรกิจ เช่น บริษัท ห้างร้าน องค์การเพื่อสาธารณะ เช่น กระทรวง ทบวง กรม องค์การเพื่อบริการ เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล

แบ่งตามหลักการจัดระเบียบภายในองค์การ 2 ประเภท องค์การที่เป็นทางการ หรือองค์การรูปนัย ตั้งขึ้นโดยกฎหมายรับรอง มีวัตถุประสงค์ระเบียบแบบแผนสายบังคับบัญชาแน่นอน องค์การที่ไม่เป็นทางการ หรือองค์การอรูปนัย เกิดจากความสัมพันธ์ส่วนตัว แบ่งตามลักษณะความเป็นเจ้าของ 2 ประเภท องค์การรัฐกิจ รัฐเป็นเจ้าของ องค์การธุรกิจ เอกชนเป็นเจ้าของ

พฤติกรรมองค์การ Kurt Lewin ชี้ให้เห็นพฤติกรรมองค์การเกิดจาก องค์การเป็นหน่วยสังคมประกอบด้วย ทรัพยากรบุคคล Man เงิน Money วัสดุอุปกรณ์ Material และการจัดการ Management เปรียบเสมือนร่างกายมนุษย์ มีสุขภาพดี ฟู่ฟ่า หรือยอบแยบย่อหย่อน หงอยเหงา ต้องเข้าทำการรักษาเยียวยา Kurt Lewin ชี้ให้เห็นพฤติกรรมองค์การเกิดจาก B = f (P, E) B =Behavior f = Function P = Personality E = Environment

โครงสร้างองค์การ ทุกองค์การต้องมีโครงสร้าง ซึ่งเป็นสายใยยึดโยงให้องค์การดำรงอยู่ได้ เช่นเดียวกับโครงกระดูกมนุษย์ โครงสร้างขององค์การประกอบด้วยส่วนสำคัญ ดังนี้ ภารกิจหน้าที่ Function การแบ่งงานกันทำ Division of Work สายการบังคับบัญชา Hierarchy ช่วงการควบคุม Span of control เอกภาพในการบังคับบัญชา Unity of Command

การเปลี่ยนแปลงองค์การ องค์การมีตัวตน มีเกิดแก่เจ็บตาย จึงควรศึกษาสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงองค์การ มีดังนี้ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงอำนาจรัฐ การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี และนวัตกรรม การเกิดองค์การไม่เป็นทางการ ความเจริญเติบโตขององค์การ สาเหตุอื่น ๆ

บทที่ 3 งานการบริหารและกระบวนการบริหาร การบริหารเป็นกิจกรรมของหมู่คณะ จึงจำเป็นต้องมีกฎเกณฑ์เพื่อถือปฏิบัติ มีการสั่งการ มอบหมายงาน และประสานงาน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ วิจิตร ศรีสอ้าน ได้เสนอหลักการของงานบริหารเป็น 2 แนวคิดคือ

แนวคิด 3 มิติ โดยทั่วไปผู้บริหารมีภารกิจในการบริหาร ประกอบไปด้วย งาน คน บรรยากาศ ขององค์การ หน้าที่เกี่ยวกับคน คือ งานสรรหาคนดีมา ปฏิบัติ สร้างบรรยากาศและ สัญลักษณ์ให้แก่องค์การ คน บรรยากาศ งาน มีหน้าที่และรับผิดชอบในงาน ทั้งหมดขององค์การ

2. แนวคิดทักษะการจัดการ เป็นทักษะทางการบริหาร ซึ่งประกอบด้วยทักษะที่สำคัญ 3 ประการ คือ 2.1 ทักษะด้านความคิด Conceptual skill เป็นทักษะที่จำเป็นที่สุดสำหรับผู้บริหาร เห็นภาพรวม ตระหนักและเข้าใจอย่างดีถึงภารกิจและหน้าที่ขององค์การ ตลอดจนแนวทางปฏิบัติ แก้ไขปรับปรุง “เก่งคิด 2.2 ทักษะด้านมนุษย์สัมพันธ์ Human Relation Skill รู้จักคน เข้าใจคน ครองคนได้ “เก่งคน” 2.3 ทักษะด้านเทคนิค Technical Skill มักเป็นผู้บริหารระดับกลางต้องใช้ทักษะด้านนี้มาก

ผู้บริหารกับกระบวนการบริหาร การเป็นผู้บริหารที่ดีต้องทราบทั้งงานหรือภารกิจในการบริหารขององค์การ และหลักการบริหาร ก็คือกระบวนการบริหารนั่นเอง ลูเธอร์ กูลิก และไลนอล อูริค Luther Gulick & Lyanal Urwick ได้เสนอหลักการว่า กระบวนการบริหารประกอบด้วยขึ้นตอนที่สำคัญ 7 ประการ คือ

POSDCoRB การวางแผน บริหารงบประมาณ จัดองค์การ รายงานผล ผู้บริหารกับ กระบวนการบริหาร บริหารงานบุคคล ประสานงาน สั่งการ

การวางแผน Planning ผู้จัดการองค์การต้องวางแผนงานของตนเองทุกขั้นตอนของการปฏิบัติงานของเขา เพราะเป็นแนวทางปฏิบัติทั้งองค์การ ซึ่งประกอบด้วย แผนงานหลัก และแผนงานย่อย แผนต้องมีลักษณะยืดหยุ่น คาดการณ์ล่วงหน้าอย่างระมัดระวังและใกล้เคียงความเป็นจริง

การจัดทำ SWOT MATRIX c นำผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ก. ภายนอก: โอกาส / ข้อจำกัด 5 -10 รายการ ข. ภายใน: จุดแข็ง / จุดอ่อน 5 -10 รายการ ค. จากนั้นให้จำลองสถานการณ์ (Scenario planning)หรือSWOT Matrix ดังต่อไปนี้

ภายนอก จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) โอกาส (Opportunities) ภายใน ภายนอก จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) โอกาส (Opportunities) ข้อจำกัด (Threats) SO Strategies รุกไปข้างหน้า WO Strategies พัฒนาภายใน ST Strategies สร้างพันธมิตร WT Strategies ปรับเปลี่ยนภายใน

ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การ การเมือง ลูกค้า คู่แข่ง องค์การ สังคม เศรษฐกิจ ผู้สนับสนุน ผู้ควบคุม โลกาภิวัตน์ / IT

การจัดองค์การ Organizing การกำหนดส่วนงานและการแบ่งงาน มีวิธีการดังนี้ 1.1 ระบุชนิดของงาน Identification of work 1.2 การจัดหมวดหมู่งาน Grouping of work 1.3 จัดบุคคลและมอบหมายงาน Put the right man in the right job 2. การกำหนดความสัมพันธ์ภายในองค์การ 2.1 กำหนดสายการบังคับบัญชา Hierarchy 2.2 กำหนดช่วงการบังคับบัญชา Span of control 3. กำหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ Authority & Responsibility

การบริหารงานบุคคล Staffing คนเป็นทรัพยากรที่สำคัญที่สุด ที่ส่งผลให้สำเร็จหรือล้มเหลว งานเกี่ยวกับบริหารงานบุคคลมีดังนี้ กำหนดแบบของงาน Job design มีงานอะไรบ้าง จัดเป็นกลุ่มไว้ วิเคราะห์งาน Job analysis วิเคราะห์แต่ละงานว่ายากง่ายแค่ไหน อธิบายลักษณะงาน Job description พรรณนารายละเอียดของงาน ชื่อตำแหน่งงาน คุณสมบัติผู้ดำรงตำแหน่ง มาตรฐานการปฏิบัติ Performance standard กำหนดเป็นเกณฑ์มาตรฐานการปฏิบัติ ว่าต้องได้กี่ชิ้น กฎของงาน Work rules เป็นการกำหนดมาตรฐานความประพฤติและการปฏิบัติงานขั้นต่ำของพนักงาน เช่น เวลาเริ่มงาน เลิกงาน ฯลฯ

การอำนวยการ Directing ผู้จัดการต้องอำนวยการในเรื่องต่อไปนี้ มอบหมายอำนาจหน้าที่ ให้ลูกน้องแต่ละคนตามลำดับ โดยให้สัมพันธ์และสอดคล้องกับความรับผิดชอบแต่ละตำแหน่ง ประกาศใช้ระเบียบและออกคำสั่ง ให้ลูกน้องถือปฏิบัติ ตัดสินใจสั่งการ ได้ถูกต้องรวดเร็ว

การประสานงาน Coordinating มีความสัมพันธ์กับขนาดขององค์การ ถ้าขนาดใหญ่ระบบประสานงานต้องมีประสิทธิภาพยิ่ง การรายงานผล Reporting เป็นการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติของพนักงาน หรือรายงานด้านการเงิน กำไร งบดุล ข้อมูลดีถูกต้องช่วยในการวางแผนและพัฒนาได้ดี

การจัดทำงบประมาณ Budgeting เป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนและการควบคุมแผนงานและโครงการ ตลอดจนค่าใช้จ่ายต่าง ๆ การจัดทำงบประมาณขององค์การธุรกิจแบ่งเป็น 6 ประเภท คือ งบประมาณการขาย ประมาณการยอดการขายไว้ งบประมาณค่าใช้จ่ายและค่าโฆษณา เช่น ค่าเช่า ค่าไฟฟ้า งบประมาณในการผลิต อาศัยฐานจากงบประมาณหรือยอดการขายเป็นหลัก งบประมาณเงินสด ต้องมีเงินสดในมือไว้หมุนเวียน เช่น เงินเดือน ฯลฯ งบประมาณค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เช่น งบชำระหนี้เงินกู้ งบประมาณคาดการของงบการเงิน รวมทุกงาน เพื่อจัดทำงบดุลประจำงวดหรือประจำปีต่อไป

บทที่ 4 การวางแผนเพื่อการจัดการ แผน คือ กิจกรรมหรืองานที่จะต้องกำหนดวัตถุประสงค์ นโยบาย และวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดไว้ล่วงหน้า เพื่อเป็นแนวทางสำหรับดำเนินการเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ มีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ จะต้องเป็นเรื่องเกี่ยวกับอนาคต จะต้องเป็นการกระทำ จะต้องเป็นวิถีทางการกระทำที่ต่อเนื่องกันไปจนสำเร็จตามเป้าหมาย โดยสรุป หมายถึงการตกลงใจไว้ล่วงหน้าว่าจะทำ What, How many, Why, When, Where, Whom, who, How

นโยบายกับการวางแผน นโยบาย แผน แผนงาน โครงการ กิจกรรม Policy Plan Program โครงการ Project กิจกรรม Activity

แผนงานและโครงการ แผน Plan คือแนวทางหรือวิธีการหรือกลุ่มของแผนงานรวม เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ แผนงาน Program คือ กลุ่มของโครงการที่จะดำเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่กำหนดไว้ในแผน เช่น แผนงานพัฒนาการผลิตรถยนต์ โครงการ Project คือกิจกรรมหรือกลุ่มกิจกรรมที่จะดำเนินการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่กำหนดไว้ แผนปฏิบัติการ Operation Plan คือข้อกำหนดในรายละเอียดในการดำเนินงานตามแผนในช่วงเวลาสั้น ๆ เช่น 1 ปี มักเสนอในรูป Gantt chart

ตัวอย่าง ; แผนปฏิบัติการบริหารงานบุคคล รายการ มค กพ มีค เมย พค กค สค กย ตค งบประมาณ สำรวจอัตราว่าง ประกาศรับสมัคร สอบคัดเลือก ดำเนินการบรรจุและปฐมนิเทศ ฝึกอบรม พิจารณาความดีความชอบ คัดเลือกไปศึกษาดูงาน 5,000 2,000 3,000 100,000

ประเภทของแผน ตามระยะเวลา ระยะสั้น 1 ปีหรือน้อยกว่า เช่น แผนปีงบประมาณ Fiscal Year ระยะปานกลาง 3 – 5 ปี เช่น แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ระยะยาว 5 – 10 ปี เช่น แผนพัฒนาทางทหาร ระยะยาวมาก เช่น แผนทางทหารของอเมริกากับรัสเซีย แผนกลิ้ง Rolling Plan เป็นแผนสั้น + แผนปานกลางหรือแผนระยะยาว

แผนระดับกรม หรือสำนักงาน หรือองค์การ แผนระดับกอง หรือฝ่าย ตามสถานที่ แผนระดับชาติ แผนระดับภาค แผนระดับจังหวัด แผนระดับอำเภอ แผนระดับตำบล ตามหลักเศรษฐศาสตร์ แผนมหภาค แผนรายสาขา ตามสายงาน แผนระดับชาติ แผนระดับกระทรวง แผนระดับกรม หรือสำนักงาน หรือองค์การ แผนระดับกอง หรือฝ่าย ปฏิทินปฏิบัติงาน Working calendar คือ การนำเอากิจกรรมต่างๆ ทุกโครงการในช่วงเวลา 1 ปี มาเรียงลำดับตามวันที่ในปฏิทิน

หลักการจัดทำโครงการ ผู้จัดทำโครงการต้องตั้งคำถามและต้องตอบคำถามให้ได้ในสาระสำคัญ ต่อไปนี้ What จะทำโครงการอะไร Why จะทำทำไม มีเหตุอะไร How many/Whom จะทำเท่าไร/ทำกับใคร How จะทำอย่างไร วิธีการขั้นตอนในการดำเนินการ Who มอบให้ใครรับผิดชอบ How much & where จะใช้งบประมาณทรัพยากรเท่าไร จากแหล่งใด When จะเริ่มต้นทำเมื่อใด เสร็จเมื่อใด

โครงการประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ เมื่อตอบคำถามได้แล้ว นำมารวบรวมเขียนเป็นรูปแบบโครงการประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงการ ระบุชื่อกิจกรรมสำคัญ ความเป็นมาโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย การดำเนินงานตามโครงการ เป็นขั้นตอนดำเนินงาน ระยะเวลาของโครงการ งบประมาณ การประเมินผล

ข้อคิดสำหรับผู้วางแผนและผู้ปฏิบัติตามแผน พฤติกรรมมนุษย์มักต่อต้าน ด้วยเหตุผลสำคัญดังนี้ ความเฉื่อย คุ้นเคยกับของเดิม ไม่กล้าเสี่ยง มีความรู้สึกต่อต้าน แบบแผนของสังคมและความเชื่อ ถ้าแผนกำหนดให้เขาทำในวิธีที่เขาคิดว่าไม่ถูก ตามความเชื่อ จารีตประเพณี อุดมการณ์ ผลประโยชน์ส่วนตัว เกิดผลกระทบจึงต่อต้าน การต่อต้านข้อเสนอที่ขาดเหตุผล แม้ว่าส่วนใหญ่จะคิด/ทำโดยปราศจากเหตุผล แต่คนนั้นไม่ชอบให้ใครมามองเช่นนั้น และยังต้องการให้ผู้อื่นนิยมชมชอบตัวเอง เช่น เห็นหน้าปุ๊บก็ไม่ถูกใจแล้ว การต่อต้านที่เกิดจากการเป็นผู้ใต้บังคับบัญชา คนไม่ประสงค์ให้คนอื่นไม่เคารพเชื่อถือ คือ หยิ่งในตัวเอง มักจะต่อต้านทันที โดยเฉพาะนายที่สั่งมีฐานะทางสังคม การเงิน ฯลฯ ต่ำกว่าตนเอง

Monitoring & Formation วงจรแผน วางแผน Planning ประเมินผลสำเร็จ Summation Evaluation ปฏิบัติตามแผน Implementing ติดตามผล/ประเมินผล Monitoring & Formation Evaluation

การประเมินโครงการ เมื่อนำแผนไปปฏิบัติ แต่ละขั้นตอนต้องมีการประเมินว่าในขั้นนั้น อยู่ในห้วงเวลา และค่าใช้จ่ายที่กำหนดตามแผนหรือไม่ เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติได้ทันท่วงที ประเมินผลสำเร็จ Milestone ติดตามประเมินผล

การประเมินผลโครงการ ยึดวัตถุประสงค์ของโครงการเป็นหลัก ในการประเมิน เป็นกิจกรรมต่อเนื่อง ก่อนเริ่มโครงการ Appraisal หลังจากที่โครงการเริ่มแล้วระยะหนึ่ง Monitoring และเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ Post evaluation นำผลการประเมินไปปรับปรุงโครงการ เน้นทั้งปริมาณและคุณภาพ ในการประเมิน

บทที่ 5 ; การจัดองค์การ หมายถึง การจัดระบบความสัมพันธ์ระหว่างส่วนงานต่าง ๆ และบุคคลในองค์การ โดยกำหนดภารกิจ อำนาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบให้ชัดแจ้ง เพื่อให้การประกอบการตามภารกิจขององค์การบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

ทฤษฎีองค์การ แบ่งเป็น 3 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีองค์การ แบ่งเป็น 3 ทฤษฎี คือ ทฤษฎีดั้งเดิม Classical organization theory การจัดองค์การแบบราชการ Bureaucracy ; Max Weber ประกอบด้วย ต้องมีการแบ่งงานกันทำ ตามความชำนาญ การปฏิบัติถือกฎเกณฑ์ระเบียบโดยเคร่งครัด สายการบังคับบัญชาลดหลั่นชัดเจน บุคคลในองค์การไม่คำนึงถึงความสัมพันธ์ เพียงแต่มุ่งสู่เป้าหมายให้ดีที่สุด การคัดเลือกบุคคล ขึ้นอยู่กับความสามารถ การจัดองค์การแบบวิทยาศาสตร์ Scientific Management ; Frederic W Taylor นำวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาวิเคราะห์และแก้ปัญหา เริ่มจากการหาความสัมพันธ์ระหว่างคนกับงาน ใช้การทดลองเป็นเกณฑ์หามาตรการการทำงานให้มีประสิทธิภาพสูงสุด เชื่อว่าเงินตัวเดียวล่อใจให้คนทำงาน ละเลยการจูงใจ อารมณ์ และความต้องการทางสังคม

ทฤษฎีสมัยใหม่ Neo Classical organization theory คนเป็นปัจจัยสำคัญและมีอิทธิพลต่อการเพิ่มผลผลิตขององค์การ เน้นความสำคัญของคน มนุษยสัมพันธ์ ขวัญกำลังใจ การมีส่วนร่วม สร้างความพึงพอใจสร้างผลผลิตได้อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย เป็นยุคของ Elton Mayo ทฤษฎีสมัยปัจจุบัน Modern organization theory เน้นการวิเคราะห์เชิงระบบ คำนึงถึงองค์ประกอบทุกส่วน ตั้งแต่ ตัวป้อน กระบวนการ ผลผลิต ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม

หลักการจัดองค์การที่ดี ; ต้องมีองค์ประกอบและแนวปฏิบัติดังนี้ หลักวัตถุประสงค์ Objective หลักความรู้ความสามารถเฉพาะอย่าง Specialization หลักการประสานงาน Coordination หลักการบังคับบัญชา Authority หลักความรับผิดชอบ Responsibility หลักความสมดุล Balance หลักความต่อเนื่อง Continuity หลักการโต้ตอบและการติดต่อ Correspondence หลักขอบเขตของการควบคุม Span of control หลักตามลำดับขั้น Ordering หลักการเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่ง Promotion

การจัดโครงสร้างองค์การ Organization structure โครงสร้างองค์การตามหน้าที่การงาน Functional Organization Structure โครงสร้างองค์การตามสายงานหลัก Line Organization Structure โครงสร้างองค์การแบบสายงานที่ปรึกษา Staff Organization Structure โครงสร้างองค์การแบบเมทริกซ์ Matrix Organization Structure โครงสร้างองค์การแบบคณะกรรมการ Committees Organization Structure

1. แบ่งงานตามกระบวนปฏิบัติงาน โครงสร้าง ตามหน้าที่การงาน ผู้จัดการใหญ่ วิจัย กฎหมาย การจัดซื้อ การผลิต การตลาด การเงิน บริหารบุคคล

ผู้จัดการฝ่ายการเงิน 2. แบ่งงานตามวัตถุประสงค์ โครงสร้าง ตามสายงานหลัก ผู้จัดการใหญ่ ผู้จัดการฝ่ายผลิต ผู้จัดการฝ่ายขาย ผู้จัดการฝ่ายการเงิน แผนกขาย แผนกโฆษณา แผนกการเงิน แผนกบัญชี แผนกวัตถุดิบ แผนกผลิต

ผู้จัดการฝ่ายการเงิน สายงานที่ปรึกษา โครงสร้าง ตามสายงานที่ปรึกษา สายงานตามหน้าที่ ผู้จัดการใหญ่ สายงานหลัก วิจัย กฎหมาย ผู้จัดการฝ่ายผลิต ผู้จัดการฝ่ายขาย ผู้จัดการฝ่ายการเงิน ผู้จัดการฝ่ายบุคคล พนักงาน พนักงาน พนักงาน พนักงาน พนักงาน พนักงาน พนักงาน พนักงาน

โครงสร้าง แบบ Matrix ผู้จัดการใหญ่ ผู้จัดการฝ่าย การตลาด ผู้จัดการฝ่าย โรงงาน ผู้จัดการฝ่าย จัดหา ผู้จัดการฝ่าย บริหารบุคคล ผู้เชี่ยวชาญ การตลาด ผู้เชี่ยวชาญ การผลิต ผู้เชี่ยวชาญ การจัดหา ผู้เชี่ยวชาญ ความปลอดภัย ผู้จัดการ 1 ผู้เชี่ยวชาญ การตลาด ผู้เชี่ยวชาญ การผลิต ผู้เชี่ยวชาญ การจัดหา ผู้เชี่ยวชาญ ความปลอดภัย ผู้จัดการ 2 ผู้เชี่ยวชาญ การตลาด ผู้เชี่ยวชาญ การผลิต ผู้เชี่ยวชาญ การจัดหา ผู้เชี่ยวชาญ ความปลอดภัย ผู้จัดการ 3 ผู้เชี่ยวชาญ การตลาด ผู้เชี่ยวชาญ การผลิต ผู้เชี่ยวชาญ การจัดหา ผู้เชี่ยวชาญ ความปลอดภัย ผู้จัดการ 4

โครงสร้าง แบบคณะกรรมการ คณะกรรมการบริหารการรถไฟแห่งประเทศไทย ผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไทย รองผู้ว่าการ ฝ่ายเดินรถ รองผู้ว่าการ ฝ่ายบริหาร รองผู้ว่าการ ฝ่ายวิศวกรรม

3. แบ่งงานตามลักษณะลูกค้า 4. แบ่งงานตามภูมิประเทศ หนังสืออ้างอิง ; องค์การและการจัดการ, ผศ.ศิริอร ขันธหัตถ์, คณะวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี