สารอาหารกับการดำรงชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สารอาหารกับการดำรงชีวิต

สารอาหาร ( NUTRITION ) หมายถึงสิ่งที่เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของอาหาร แบ่งประเภท ความสามารถในการให้พลังงาน สารอาหารที่ให้พลังงาน คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน สารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน เกลือแร่ วิตามิน และ น้ำ

คาร์โบไฮเดรต ( CARBOHYDRATE ) เป็นสารอาหารที่ประกอบ ด้วยธาตุ C H และ O โดยมี อัตราส่วนระหว่าง H : O = 2 : 1 เป็นสารอาหารหลักในการสลายให้พลังงานแก่สิ่งมีชีวิต

ความสำคัญของคาร์โบไฮเดรต เป็นแหล่งให้พลังงานแก่สิ่งมีชีวิตที่สำคัญที่สุด โดยเฉพาะกลูโคสเปรียบเป็น energy pool เป็นอาหารสะสมเช่น แป้ง และไกลโคเจน เป็นโครงสร้างของสิ่งมีชีวิต เช่น วุ้น ไคติน และ เซลลูโลส

แหล่งอาหารที่สำคัญที่สุดของคาร์โบไฮเดรต มาจากพืชเป็นส่วนใหญ่

ไขมัน ( LYPID ) ไขมันเป็นสารอาหารหลักที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตชนิดหนึ่งไขมันเป็น lypid ชนิดหนึ่งที่มี สถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง ส่วน oil เป็นไขมันที่เป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง ประกอบด้วยธาตุ C H และ O

ประเภทของไขมันแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ประเภทของไขมันแบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1. ไขมันธรรมดา ( SIMPLE LYPID ) ได้แก่ ไขมัน ( fat ) น้ำมัน ( Oil ) ไข ( wax ) ประกอบด้วย กลีเซอรอล + fatty acid 2. ไขมันเชิงประกอบ ( COMPOUND LIPID ) เป็นไขมัน ธรรมดามีหมู่ธาตุอื่นเป็นองค์ประกอบ 3. อนุพันธ์ไขมัน ( DERIVED LIPID ) เกิดจากการสลายของไขมันธรรมดา หรือไขมันเชิงประกอบ

แบ่ง ตามความต้องการของร่างกาย ชนิดของไขมัน แบ่ง ตามความต้องการของร่างกาย กรดไขมันที่จำเป็นต่อร่างกาย คือกรดไขมันที่ร่างกายขาดไม่ได้มีผลต่อการเจริญเติบโต ของร่างกายและร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ขึ้นมาได้ ได้แก่กรดไลโนเลอิกกรดโนเลอิก ถ้าขาดมีอาการผิวหนังแตกและติดเชื้อง่าย กรดไขมันที่ไม่จำเป็นจ่อร่างกาย คือกรดไขมันที่ร่างกายสามารถสังเคราะห์ได้

แบ่งตามระดับความอิ่มตัว ชนิดของไขมัน แบ่งตามระดับความอิ่มตัว กรดไขมันที่ไม่อิ่มตัว หมายถึงกรดไขมันที่ C ในโมเลกุล จับเกาะอยู่ไม่เต็มที่ หรือ Bond แบบคู่สามารถที่จะรับ H เข้าไปในโมเลกุลได้อีก กรดไขมันแบบอิ่มตัว หมายถึงกรดไขมัน ที่ C จับกันอย่างเต็มที่ หรือ Bond แบบเดี่ยว โมเลกุล ของ H ไม่สามารถ เข้าไปจับในโมเลกุลได้

สเตอรอยด์ (STEROID ) เป็นอนุพันธ์ ของไขมันมีสูตรโครงสร้างแตกต่างจากไขมัน คือ มี C ของสเตอรอยด์เรียงกันเป็นวง 4 วงและอาจมี C ที่เป็นแขนงออกไปอีก มีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิต พบในต่อมต่าง ๆ เช่นต่อมหมวกไต ในอวัยะเพศชายและเพศหญิง สร้างฮอร์โมนที่เป็นสเตอรอยด์หลายชนิด รวมทั้งคลอเลสเตอรอล เออร์โกสเตอรอล เป็นสเตอรอยด์ที่ร่างกายสังเคราะห์วิตามิน D

หน้าที่ของไขมัน ป้องกัน อวัยวะภายใน เป็นโครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์ เป็นฉนวนป้องกันความร้อน สามารถเปลี่ยนเป็นวิตามิน D ได้ เป็นตัวทำละลายวิตามิน A D E K ให้พลังงานมากที่สุด คือ 9 กิโลแคลอรี ต่อ ไขมัน 1 กรัม เป็นส่วนประกอบของอวัยวะต่าง ๆ เช่นระบบประสาทของ สัตว์ ที่ มีกระดูกสันหลัง

โปรตีน ( PROTEIN ) ธาตุหลัก คือ C H O และ N มี 1 ใน 7 ของน้ำหนักตัว

โปรตีน ( PROTEIN ) โปรตีนเป็นสารอาหารที่ มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ มี ความสำคัญในการเสริมสร้างการเจริญเติบโตและซ่อมแซมส่วนต่าง ๆของร่างกาย ตลอดจนควบ คุมความเป็นกรด ด่างในเลือด และรักษาระดับของเหลวภายในร่างกาย ให้อยู่ในภาวะปกติ โปรตีน ภาษากรีก แปลว่า มาเป็นที่ หนึ่ง

หน้าที่ และความสำคัญของโปรตีน เป็นองค์ประกอบและโครงสร้างของร่างกาย ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอต่อร่างกาย โปรตีนบางชนิดทำหน้าที่พิเศษเฉพาะ เป็น เอนไซม์ เร่ง ปฏิกริยาในเซลล์สิ่งมีชีวิต เป็นฮอร์โมน เช่น อินซูลิน เอสโทรเจน เป็น Antibody ทำลายสิ่งแปลกปลอมในร่างกาย เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว เช่น โปรตีน actin myosin

เกลือแร่ ( mineral ) ร่างกายของคนเราประกอบด้วยธาตุ C H O และ N ประมาณ 96 % และ อีก 4 % เป็นแร่ ธาตุอื่น ๆ แร่ ธาตุต่าง ๆ เหล่านี้เป็นส่วนประกอบของอาหารและน้ำ

หน้าที่สำคัญของแร่ธาตุและแหล่งอาหารชนิดต่าง ๆ แคลเซียม ( Ca ) เป็นส่วนประกอบของกระดูกและฟัน และช่วยให้เลือดแข็งตัว ถ้าขาดจะเป็นโรคกระดูกอ่อน คะน้า นม เนยแข็ง กุ้งแห้ง

หน้าที่สำคัญของแร่ธาตุและแหล่งอาหารชนิดต่าง ๆ ฟอสฟอรัส ( P ) ส่วนประกอบของกระดูก ส่วนประกอบของกรดนิวคลีอิก และรักษาสมดุลของกรด - เบส ถ้าขาดจะเกิดโรคกระดูกอ่อน อ่อนเพลีย ถั่วและถั่วเหลือง เนยแข็ง นม

โปตัสเซียม ( K ) การหดตัวของกล้ามเนื้อ การเกิดกระแสประสาท การเต้นของหัวใจ ถ้าขาดจะทำให้การกระตุ้นของประสาทช้าลง หัวใจเต้นช้าลง

โซเดียม ( Na ) รักษาสมดุลของของเหลวภายในเซลล์ รักษาระดับ pH การเกิดกระแสประสาท ถ้าขาด จะเป็นตะคริว กล้ามเนื้อชักกระตุก เกลือแกง

แมกนีเซียม ( Mg ) คุมการทำงานของกล้ามเนื้อประสาท ส่วนประกอบของโครงสร้างของกระดูก ถ้าขาด กล้ามเนื้อจะชักกระตุก เพ้อ สั่น อาจตายได้( วัยรุ่นมักขาด) ผักใบเขียวทุกชนิด

คลอรีน ( Cl ) เป็นอิออนประจุลบที่มีความสำคัญที่สุดของร่างกาย เป็นส่วนประกอบของ HCL ในกระเพาะอาหาร รักษาระดับ pH ถ้าขาดจะทำให้อาเจียร เกลือแกง

เหล็ก ( Fe ) ส่วนประกอบของฮีโมโกลบิน 2/3 ของธาตุอยู่ในเลือด 1/3 อยู่ใน ตับ ม้ามไขกระดูก ถ้าขาดเป็นโรคโลหิตจาง มะเขือพวง ถั่วเหลือง ไข่แดง ตับ

ไอโอดีน ( I2 ) เป็นส่วนประกอบ ของฮอร์โมน ถ้าขาด วัยเด็กจะแคระแกรน ผู้ใหญ่จะเป็โรคคอพอก อาหารทะเล เกลือสมุทร

เป็นสารอินทรีย์ที่ร่างกายต้องการน้อยมากแต่ขาดไม่ได้ วิตามิน ( VITAMIN ) เพราะมีความจำเป็นต่อร่างกาย โดยวิตามินจะมีบทบาทต่อร่างกายในด้าน ช่วยป้องกันและต้านทานโรค เป็นองค์ประกอบของเอนไซม์ เป็นปัจจัยในกระบวนการทางสรีระ เช่นวิตามิน D เกี่ยวข้องกับการดูดซึมของ Ca+ เป็นสารอินทรีย์ที่ร่างกายต้องการน้อยมากแต่ขาดไม่ได้

ประเภทของวิตามิน วิตามินที่ละลายในไขมัน ได้แก่วิตามิน A D E K วิตามินที่ละลายในน้ำ ได้แก่วิตามิน B C Carnitine , Biotin ไม่สะสมในร่างกายถ้ามีมากร่างกายจะขับออกทางปัสสาวะ วิตามินที่ละลายในไขมัน ได้แก่วิตามิน A D E K สะสมในร่างกายถ้ามีมากจะเป็นผลเสียต่อร่างกาย

น้ำมันตับปลา นม ไข่แดง วิตามิน A ( Retinol ) ช่วยการมองเห็น เยื่อบุอวัยวะต่าง ๆทำงานเป็นปกติ ถ้าขาด เป็นโรค ตาบอดกลางคืน ผิวหนังแห้ง เป็นตุ่ม ผักผลไม้สีเหลือง น้ำมันตับปลา นม ไข่แดง

วิตามิน D ( CALCIFERAL ) ช่วยดูดซึม Ca , P จากลำไส้ การกระชับของ Ca , P ของกระดูก ถ้าขาด เด็ก จะกระดูกอ่อน ผู้ใหญ่ จะฟันผุ น้ำมันตับปลา ไข่แ ดง นม เนย

วิตามิน E ทำให้เม็ดเลือดแดงแข็งแรง ทำให้ป้องกันการ เป็นหมันในสัตว์ตัวผู้ ถ้าขาด จะเป็นโรคโลหิตจางชนิดเม็ดเลือดแดงแตกง่าย เป็น หมันในสัตว์ตัวผู้ น้ำมันพืช ถั่ว

วิตามิน K สร้างโปรตีนที่เกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือดคือ โปรทรอมบิน ถ้าขาดเลือดจะออกง่ายและไม่แข็งตัว เห็ด ข้าวโพด

ข้าวซ้อมมือ ถั่วเหลือง นม ยีสต์ เนื้อหมู วิตามิน B เป็นส่วนประกอบของโคเอนไซม์ในกระบวนการหายใจระดับเซลล์ ถ้าขาด เป็นโรคเหน็บชา ประสาทผิดปกติ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ข้าวซ้อมมือ ถั่วเหลือง นม ยีสต์ เนื้อหมู

วิตามิน บี 2 เป็นส่วนประกอบของ โคเอนไซม์ FAD ถ้าขาด เป็นโรค วิตามิน บี 2 เป็นส่วนประกอบของ โคเอนไซม์ FAD ถ้าขาด เป็นโรค ปากนกกระจอก ตาสู้แสงไม่ได้ ผิวหนังแตก ตับ เนื้อสัตว์ ผักใบเขียว ไข่ นม

สรุปเกี่ยวกับวิตามิน วิตามินที่ร่างกายต้องการมากที่สุดคือวิตามิน C ส่วนวิตามินที่ต้อง การน้อย ที่ สุดคือวิตามิน D

สรุปเกี่ยวกับวิตามิน วิตามินที่ร่างกายสังเคราะห์ได้เองโดยตรง คือ วิตามิน C สร้างได้จากตับ และต่อมหมวกไตชั้นนอก วิตามิน D สร้างจากสารคลอเลสเตอรอล ที่อยู่ใต้ผิวหนังเมื่อได้รับแสง อุลตราไวโอเลต

สรุปเกี่ยวกับวิตามิน วิตามินที่สังเคราะห์ได้จากแบคทีเรียลำไส้ใหญ่ คือ B12 K วิตามินที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับเม็ดเลือดแดง คือ B6 B12 และ E