บทที่ 7 หลักการและเทคนิคมูลฐาน ที่ ผตน.ควรทราบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 7 หลักการและเทคนิคมูลฐาน ที่ ผตน.ควรทราบ บทที่ 7 หลักการและเทคนิคมูลฐาน ที่ ผตน.ควรทราบ

ผตน. ดวงตาของชุดหลักยิง 1 ผตน. ดวงตาของชุดหลักยิง ผตน. ในฐานะที่เป็นผู้มองเห็นสนามรบ เฝ้าตรวจสนามรบ ตลอด 24 ชม. ภูมิประเทศ, ลมฟ้าอากาศ, ข้าศึก , ฝ่ายเรา รายงานตามความจริงที่ตรวจพบ ห้ามคาดคะเน, เดา ข้อพึงระลึกในการรายงานข่าว ความสมบูรณ์ แจ่มแจ้ง กระทัดรัด

แจ่มแจ้ง กระทัดรัด ต้องตอบคำถามเหล่านี้ได้ 2 การรายงานข่าวให้ระลึกถึงความสมบูรณ์ แจ่มแจ้ง กระทัดรัด ต้องตอบคำถามเหล่านี้ได้ ใคร … ใครเป็นผู้รายงาน อะไร … วัตถุ, ภูมิประเทศ, สภาพอากาศขณะที่รายงาน เมื่อไร … วัน - เวลา ที่รายงานหรือที่ตรวจพบ ที่ไหน … บริเวณ, ที่ตั้งหรือพื้นที่ที่ตรวจพบ อย่างไร … สิ่งที่ตรวจพบเป็นอย่างไร ลักษณะหรือ กิจกรรมต่างๆที่ตนได้กระทำ หรือสังเกตเห็น

ให้ระลึกถึงเรื่องต่อไปนี้ 3 การรายงานข่าวเกี่ยวกับกำลังของข้าศึก ให้ระลึกถึงเรื่องต่อไปนี้ ขนาดหน่วย หน่วยใหญ่ขนาดไหน การปฏิบัติ กำลังทำอะไรอยู่ ที่ตั้ง ที่ไหน ควรบอกพิกัด หน่วย เป็นหน่วยประเภทใด เวลา ตรวจเห็นเมื่อใด ยุทโธปกรณ์ หน่วยนั้นมียุทโธปกรณ์อะไรบ้าง …………

4 ในการดำเนินภารกิจยิง วิธีปฏิบัติมาตรฐาน ผตน. ดำเนินภารกิจตามลำดับดังนี้.- 1. กำหนดที่ตั้งเป้าหมาย 2. ส่งคำขอยิง 3. ปรับการยิง ( ถ้าจำเป็น ) 4. เฝ้าตรวจและรายงานผลการยิง

มุมและการวัดมุม 5 มาตราวัดมุมที่ทางทหารใช้มี 3 ระบบ มุม คือจำนวนหรือปริมาณของการหมุนของเส้นตรงเส้นหนึ่ง รอบจุดหนึ่งในพื้นที่คงที่อันหนึ่ง จากทิศทางหนึ่งไปยังอีกทิศทางหนึ่ง อาจจะหมุน ตามเข็มหรือทวนเข็มนาฬิกาก็ได้ มาตราวัดมุมที่ทางทหารใช้มี 3 ระบบ 1. ระบบองศา แบ่งวงกลมออกเป็น 360 ส่วน (องศา) 1 องศา แบ่งออกเป็น 60 ส่วน (ลิบดา) 1 ลิบดา แบ่งออกเป็น 60 ส่วน (ฟิลิบดา) 2. ระบบเกรด แบ่งวงกลมออกเป็น 400 ส่วน (เกรด) 1 เกรด แบ่งออกเป็น 100 ส่วน (เซนติเกรด) 1 เซนติเกรด แบ่งออกเป็น 100 ส่วน (เซนติเซนติเกรด) 3. ระบบมิลเลียม แบ่งวงกลมออกเป็น 6,400 ส่วน (มิลเลียม)

6 สูตร มิลเลียม & กฎ กผร นิยาม มุม 1 มิลเลียม ที่มีแขนของมุมยาว 1,000 ส่วน จะรองรับเส้นรอบวงที่มีความยาว 0.9817 ส่วน ซึ่ง ใกล้เคียงกับ 1.0 มาก จึงถือว่าเส้นรอบวง 1 เมตร จะรองรับมุม 1 มิลเลียม ณ ระยะ 1,000 เมตร

สูตรมิลเลียม 7 ผ ก = ร 1000 1000 .9817 1 m ผ . ก ร ผ 1 ก = 1 = ร 1000 ก = . ผ 1 ร 1000 1000 1 ก = 1 = 1 = 1 = 1 .

สูตรมิลเลียม & กฎ กผร 8 X 1.0186 ผ ก = ร ผ ผ ก = ร ก ร ก ร ผ ร ก ผ ก ผ สูตรมิลเลียม & กฎ กผร ผ ก = ร ผ ผ ก = X 1.0186 ร ก ร ก ร ผ ร ก ผ ก ผ ร ก ผ ผ ร ก ร ก ผ

กฎ กผร 9 1.0186 .9817 1 6282.88 6400 ผ x 1.0186 ร ก = .9817 x 6400 = 6282.88 6282.88 x 1.0186 = 6399.741588 ผ .9817 ร 1000 1000 .9817 x 1.0186 .99995962 1 1 ก = 1 = . 1 = 1 =

การวัดมุมและการใช้มุม 10 การวัดมุมและการใช้มุม มุมที่ผู้ตรวจการณ์ต้องใช้อยู่เป็นประจำ คือ … มุมภาค , มุมข้าง , มุมดิ่ง การวัดมุม มุมภาค ...ขั้นแรกวัดโดยเข็มทิศหรือกล้องกองร้อย ...ขั้นต่อมาอาจใช้การวัดมุมทางข้างเพื่อให้ รวดเร็วขึ้น มุมข้าง ...วัดโดยใช้กล้องส่องสองตา, กล้องกองร้อย หรือวัดด้วยมือ มุมดิ่ง … วัดโดยใช้เข็มทิศ M 2, กล้องกองร้อย กล้องส่องสองตา หรือวัดหยาบ ๆ ด้วยมือ

11 การใช้มุม มุมภาค....ใช้กำหนดที่ตั้งเป้าหมายวิธีโปล่าร์, วิธีย้ายฯ การสกัดตรง , การแสดงทิศทางที่ ผตน. ใช้ตรวจการณ์ (แนว ตม.) หาที่อยู่ตัวเองด้วยวิธีต่าง ๆ มุมข้าง....ใช้ในการปรับการยิงทางข้าง, การหา รยม. การกำหนดที่ตั้งเป้าหมายวิธีย้ายฯ มุมดิ่ง....ใช้ในการกำหนดที่ตั้งเป้าหมายวิธีโปล่าร์และวิธีย้ายฯ, ใช้ในการปรับการยิงทางดิ่ง (แก้ สกต.)

วิธีที่ ผตน. ใช้หาระยะมี 6 วิธี 12 วิธีที่ ผตน. ใช้หาระยะมี 6 วิธี 1. วิธีเทียบสนามฟุตบอลหรือยิงหมายระยะ 2. วิธีสังเกตุลักษณะของวัตถุหรือภูมิประเทศ 3. วิธีเวลาต่าง แสง ~ เสียง 4. วิธีกฎ กผร 5. วิธีวัดเอาในแผนที่ หรือเปรียบเทียบกับแผนที่ 6. วิธีใช้กล้องวัดระยะ  การหาระยะของ ผตน. ควรผิดพลาดไม่เกิน  ± 20 % ของระยะจริง

ทิศทาง 13 ๏ ทิศทางใช้ประโยชน์ในการกำหนดที่อยู่ตัวเอง ๏ ทิศทางใช้ประโยชน์ในการกำหนดที่อยู่ตัวเอง กำหนดที่ตั้งเป้าหมาย ปรับการยิง ฯลฯ ๏ โดยปกติจะใช้ร่วมกับระยะ วิธีการหาทิศทาง 5 วิธี 1. การประมาณ 2. การใช้เข็มทิศ 3. การวัดบนแผนที่ 4. การวัดจากจุดอ้าง 5. การใช้กล้องหาทิศหรือเครื่องมือวัดมุมอื่น ๆ

การขานตัวเลขและตัวอักษรของทหารปืนใหญ่ 14 การขานตัวเลขและตัวอักษรของทหารปืนใหญ่ การขานตัวเลขไม่ว่าจะด้วยปากเปล่าหรือผ่านเครื่องมือ สื่อสาร ให้ยึดหลักการดังนี้.- เลขหลักหน่วย, หลักสิบ อ่านทีละตัว 0 7 10 11 42 65 83 90 เลขหลักร้อย หลักพัน ที่เต็มร้อยเต็มพัน อ่านเป็นร้อยเป็นพัน 500 1,000 6,000 10,000 16,000 เลขที่มีจุดทศนิยมและเลขที่ไม่เต็มร้อยเต็มพัน อ่านทีละตัว 1.1 100.5 723

ให้ยึดถือระเบียบการใช้วิทยุโทรศัพท์ 15 ๏ การขานตัวอักษร ๏ ให้ยึดถือระเบียบการใช้วิทยุโทรศัพท์ ๏ อักษรไทย ก = ไก่, ข = ข้าว, ค = ควาย, ส = สิงโต ๏ อักษรภาษาอังกฤษ A = อัลฟ่า, B = บราโว่, C = ชาลี, D = เดลต้า, E = เอคโก้, Z = ซูลู

มาตรฐานของความถูกต้อง 16 มาตรฐานของความถูกต้อง ในการกำหนดที่ตั้งเป้าหมายและปรับการยิง การกำหนดที่ตั้งเป้าหมาย พิกัด เต็ม 10,100 เมตร มุมภาค เต็ม 10 มิลเลียม ระยะ เต็ม 100 เมตร แตกต่างสูง เต็ม 5 เมตร การย้ายทางทิศ เต็ม 10 เมตร การย้ายทางระยะ เต็ม 100 เมตร

มาตรฐานของความถูกต้อง ในการกำหนดที่ตั้งเป้าหมายและปรับการยิง 17 มาตรฐานของความถูกต้อง ในการกำหนดที่ตั้งเป้าหมายและปรับการยิง การปรับการยิง การแก้ทางทิศ เต็ม 10 เมตร การแก้ทางระยะ เต็ม 100 เมตร การแก้ทางสูง เต็ม 5 เมตร

การปัดเศษทศนิยม 18 ๏ ทศนิยมที่มากกว่า 0.5 ให้ปัดขึ้น เช่น ถ้ามีความจำเป็นจะต้องปัดตัวเลขที่เป็นเศษทศนิยม ให้เป็นจำนวนเต็ม ให้ใช้หลักการดังนี้.- ๏ ทศนิยมที่น้อยกว่า 0.5 ให้ปัดทิ้ง เช่น 22.4 ปัดเป็น 22 ๏ ทศนิยมที่มากกว่า 0.5 ให้ปัดขึ้น เช่น 22.6 ปัดเป็น 23 ๏ ทศนิยมที่เท่ากับ 0.5 พอดี ให้ปัดเป็นเลขคู่ เช่น 22.5 ปัดเป็น 22 23.5 ปัดเป็น 24