การรักษาโรคเบื้องต้น (Primary Medical Care)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ค่าปรกติของห้องปฏิบัติการ
Advertisements

Chittima Sirijerachai
Interhospital conference 8 กุมภาพันธ์ 2554
Inter-hospital Conference 20 March 2012
Chittima Sirijerachai
Blood smear interpretation
Spot Diagnosis in Rheumatology
Red cell enzyme defects
Hereditary Spherocytosis (HS)
ธาตุเหล็กกับการเรียนรู้ ผลกระทบต่อ คุณภาพเด็กไทย
THALASSEMIA 1 ตุลาคม 2552.
Anemia.
Thalassemia Patommatat MD.
แบบทดสอบ ธาลัสซีเมีย : การแปลผลตรวจ และวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
Center of Excellence in Immunology & Immune-mediated diseases ศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านภูมิคุ้มกันวิทยาและโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน.
6. VASCULITIS PONGSAK MAHANUPAB,M.D. Department of Pathology
Diabetes mellitus By kraisorn inphiban.
การตรวจยืนยันและการแปลผลตรวจ ธาลัสซีเมียและการระบุคู่เสี่ยง
Eosinophilic fasciitis. ด. ญ. จุฑามาศ จักอะโน อายุ 12 ปี HN ภูมิลำเนา จังหวัดน่าน เบอร์โทรศัพท์ Dx eosinophilic fasciitis.
Thalassemia Sudawadee Ekwitayawechnukul, MD. Thalassemia Treatment Complication of thalassemia Complication of secondary hemochromatosis Iron chelation.
Facilitator: Pawin Puapornpong
Case study 48 Facilitator: Pawin Puapornpong.
Lymphatic drainage of the head and neck
Liver Function Test Piyanant Chonmaitree, MD. Department of Medicine
Facilitator: Pawin Puapornpong
Prolapsed cord.
HISTORY TAKING & PHYSICAL EXAMINATION
Dr. Wongsakorn Boonkarn Medicine
สมาชิก น.ส. กานต์ธีรา ปัญจะเภรี รหัสนักศึกษา ลำดับที่ 21 น.ส. มินลดา เหมยา รหัสนักศึกษา ลำดับที่ 22 น.ส. กรกฎ อุดมอาภาพิมล รหัสนักศึกษา
Case study 3:A rare case of thalassemia minor with leg ulcer
Antenatal Care (ANC) Laboratory analysis
Case study 4 Iron overload in thalassemia intermedia
Clinical Correlation Cardiovascular system
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
นพ.มงคล ลือสกลกิจ รพศ.เจ้าพระยายมราช
Andrographis paniculata
การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย
Facilitator: Pawin Puapornpong
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
Facilitator: Pawin Puapornpong
การให้คำปรึกษาแนะนำแก่หญิงตั้งครรภ์และคู่สมรส
Essential nutrition in ICU
การบริการงานอาชีวเวช ภายนอกโรงพยาบาล
Nursing Care of the Child of Gastrointestinal Disease
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
จังหวัด .นครสวรรค์, กำแพงเพชร,พิจิตร, อุทัยธานี, ชัยนาท
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน
โรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน Sex Chromosome
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
สมาชิก โต๊ะที่ 5 กลุ่ม น. ส. ชลธิชา. เบ้าสิงห์ น. ส
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
แนวทางการกำกับดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย
แนวทางการคัดกรองภาวะซีดในเด็ก และการให้ยาเสริมธาตุเหล็ก ในคลินิกเด็กดี
การประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพ Health Needs Assessment - HNA
โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (Middle East Respiratory Syndrome; MERS)
บทที่1 ความรู้เบื้องต้นทางศิลปะ
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
NUR 2224 การประเมินภาวะสุขภาพ และการสร้างเสริมสุขภาพ
การพยาบาลเด็กป่วยที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสซึม อาจารย์ ดร
โรคทางพันธุกรรม คือ โรคที่เกิดจากความผิดปกติของยีนหรือของโครโมโซมโครโมโซม  ตั้งแต่แรก เกิดหรือตั้งแต่ปฏิสนธิ หรืออาจเกิดการผิดปกติได้ในภายหลัง ทำให้มีผลเกิดภาวะผิดปกติทางร่างกาย.
NUR 3263 การรักษาโรคเบื้องต้น (Primary Medical Care)
กายภาพบำบัดใน ผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
พญ. พิชญานันท์ คู่วัจนกุล กุมารแพทย์ สาขาโลหิตวิทยาและมะเร็ง
(กลุ่มอาการไข้ ไอ หอบ)
6. VASCULITIS Department of Pathology Faculty of Medicine
รหัสวิชา NUR 3236 รายวิชา การรักษาโรคเบื้องต้น Primary Medical Care
โรคหลอดเลือดในสมอง (STROKE)
Blood transfusion reaction
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การรักษาโรคเบื้องต้น (Primary Medical Care) NUR 3263 การรักษาโรคเบื้องต้น (Primary Medical Care) ........................................................ การรักษาพยาบาลขั้นต้นจากอาการ และอาการแสดง ที่ผิดปกติที่พบบ่อย Jaundice and Anemia Lect. Tanawat Ruamsook B.N.S., NP., M.N.S. (Community Health Nurse Practitioner) College of Nursing and Health, Suan Sunandha Ratjabhat University SSRU

Jaundice *** ต้องแยกให้ออกจากภาวะ Carotenemia เป็นภาวะที่มีผิวหนัง เยื่อบุตา และเนื้อเยื่อต่างๆ มีสีเหลือง เป็นภาวะที่ไม่ใช่โรค หรือเรียกว่า “ดีซ่าน” หรือ “ภาวะตัวเหลืองตาเหลือง” เกิดจากการมีสาร Bilirubin ในกระแสเลือดมากเกินไป (Hyperbilirubinemia) *** ต้องแยกให้ออกจากภาวะ Carotenemia เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Unconjugated / Indirect Bilirubin Conjugated / Direct Bilirubin เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Bilirubin : Total bilirubin Direct bilirubin Indirect bilirubin ค่าปกติ ผู้ใหญ่ Total bilirubin 0.1 – 1.1 mg/dl Direct bilirubin 0.1 – 0.4 mg/dl Indirect bilirubin 0.2 – 0.7 mg/dl ทารก 2.0 – 12.0 mg/dl เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

สาเหตุการเกิดภาวะ Hyperbilirubinemia ในทารก/เด็ก 1. ในเด็กปกติ/แรกเกิด โดยเฉพาะคลอดก่อนกำหนด จะเหลืองไม่มาก มักจะเกิดวันที่ 2-4 หลังคลอด เนื่องจากตับยังทำงานได้ไม่เต็มที่ (Physiological Jaundice) 2. โรคทางเดินน้ำดีฝ่อ ตีบ ตัน แต่กำเนิด (Biliary atresia) เกิดการคั่งน้ำดีในตับ น้ำดีไม่สามารถลงสู่ลำไส้ได้ 3. มารดาและทารกมีเลือดคนละชนิด/Group เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Post-hepatic Pre-hepatic Hepatic สาเหตุการเกิดภาวะ Hyperbilirubinemia การติดเชื้อในกระแสเลือด เช่น มาลาเรีย โลหิตจางบางชนิด เช่น G6PD, Thalassemia เป็นต้น เกิดพยาธิสภาพที่ตับ เช่น Cirrhosis, Hepatitis (A B C D E), CA Liver เป็นต้น ไม่สามารถลำเลียง Bilirubin ไปสู่ลำไส้ได้ ซึ่งเกิดจาก Gall stone, Pancreatitis เป็นต้น

Unconjugated / Indirect bilirubin สาเหตุการเกิดภาวะ Hyperbilirubinemia ในผู้ใหญ่ Unconjugated / Indirect bilirubin Unconjugated / Indirect and Conjugated / Direct bilirubin Conjugated / Direct bilirubin

Physical Examination Inspection Auscultation Percussion Palpation SSRU เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Inspection Auscultation - Bowel sounds - Bruits - Yellowish color of the skin - Icteric sclera - Abdominal distension - Itchy skin เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Percussion & Palpation - Liver - Gall Bladder Epi gastric RUQ LUQ Rt. Lumbar Lt. Lumbar Umbilical Pelvic/ Lower abdomen RLQ LLQ

Percussion : เพื่อหาสารน้ำ ขอบเขตของตับ Dullness Mid clavicular line : เพื่อหาสารน้ำ ขอบเขตของตับ ขอบบน  ซี่โครงที่ 5-6 Dullness ขอบล่าง ใต้ชายโครงขวา  1 นิ้ว เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Palpation Liver - Light / Superficial palpation - Deep / Bimanual palpation - Hooking technique - Tenderness - Size , Surface, Edge, Consistency ( soft, firm, hard, stony hard) เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Palpation Gall bladder Murphy’s sign - Negative - Positive SSRU เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Investigation การเจาะเลือด : CBC เมื่อสงสัย Hemolysis LFT : Total / Direct / Indirect bilirubin Liver synthetic function ปัสสาวะ : เพื่อวัดระดับ Urobilinogen ; มากไป = prehepatic and hepatic น้อยไป = posthepatic ฉายรังสี : Ultrasound, CT Scan, MRI Scan การส่งกล้อง : Endoscopic Retrograde Cholangiopancreatography: ERCP เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Nursing care ระยะ การพยาบาล Pre-hepatic Hepatic Post-hepatic ป้องกันการแตกตัวของเม็ดเลือดแดงในโรคต่างๆที่ทำให้เกิดอาการ Hepatic เน้นการรักษา/ฟื้นฟูเซลล์ตับ และป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในตับ ถ้ามีการเสียหายมากอาจพิจารณาผ่าตัด Post-hepatic ผ่าตัดในส่วนที่เกิดพยาธิสภาพเพื่อแก้ไขปัญหาอุดตัน เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Anemia ภาวะซีด (Anemia) หมายถึง การที่มีปริมาณของเม็ดเลือดแดง (red cell mass) ลดลงหรือมีระดับค่าฮีโมโกลบิน (Hemoglobin, Hb) ลดลง เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Anemia Anemia is a condition in which the number of red blood cells or their oxygen-carrying capacity is insufficient to meet physiologic needs, which vary by age, sex, altitude, smoking, and pregnancy status. Iron deficiency is thought to be the most common cause of anemia globally, although other conditions, such as folate, vitamin B12 and vitamin A deficiencies, chronic inflammation, parasitic infections, and inherited disorders can all cause anemia. In its severe form, it is associated with fatigue, weakness, dizziness and drowsiness. Pregnant women and children are particularly vulnerable. (WHO, 2011) เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

อาการและอาการแสดง 1. อาการเหนื่อยง่าย ขณะออกแรง หรืออยู่เฉยๆ 2. อาการอ่อนเพลีย เวียนศีรษะ เป็นลม หน้ามืด 3.อาการทางสมอง เช่น รู้สึกสมองล้า หลงลืมง่าย ขาดสมาธิในการทำงาน เรียนหนังสือไม่ดีเท่าที่ควรนอนไม่หลับ 4. อาการเจ็บเค้นที่หน้าอกซ้ายจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด มักพบในคนที่มีโรคหลอดเลือดหัวใจตีบอยู่ก่อน 5. อาการขาขาดเลือด มีอาการปวดขา เดินได้ไม่ไกล ต้องหยุดพักบ่อยๆ 6. อาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่น เบื่ออาหาร ท้องอืด เป็นต้น เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

ชนิดของภาวะซีดแบ่งตามสาเหตุ (Etiologic classification) 1. การสร้างเม็ดเลือดแดงน้อย (impaired red cell formation) 2. การเสียเลือดจากร่างกาย (blood loss ) 3. การแตกทำลายของเม็ดเลือดแดง (hemolytic anemia) เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

1. การสร้างเม็ดเลือดแดงน้อย (impaired red cell formation) สารอาหารในการสร้างเม็ดเลือดแดงไม่พอ (deficiency) ได้แก่ การขาดธาตุเหล็ก วิตามินบี 12 และโฟลิค เป็นต้น ไขกระดูกฝ่อหรือมีเซลล์มะเร็งกระจายในไขกระดูก (bone marrow failure / infiltration) ได้แก่ aplastic anemia, acute leukemia, neuroblastoma เป็นต้น เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Iron deficiency เหล็ก (iron) เป็นธาตุที่สำคัญอย่างหนึ่งของร่างกาย   บทบาทที่สำคัญที่สุดของเหล็กคือกระบวนการขนส่งออกซิเจน โดยเป็นส่วนประกอบของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง  และหน้าที่อื่นที่สำคัญของเหล็กได้แก่  มีหน้าที่ในกระบวนการเมตาโบลิซึมของเซลล์และเป็น cofactor ของเอนไซม์หลายชนิด  ปริมาณของเหล็กในร่างกายต้องอยู่ในระดับที่เหมาะสมเพื่อให้ร่างกายสามารถทำหน้าที่ได้อย่างปกติ  ถ้าเกิดภาวะขาดธาตุเหล็กจะก่อให้เกิดผลเสียต่อร่างกายได้แก่ ทำให้เกิดโรคโลหิตจาง ประสิทธิภาพการทำงานของกล้ามเนื้อและสมองลดลง มีการติดเชื้อง่าย ในเด็กจะมีการเจริญเติบโตของร่างกายและการพัฒนาของระบบประสาทช้าลง เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Iron deficiency สาเหตุการขาดธาตุเหล็ก พบบ่อย เช่น สาเหตุการขาดธาตุเหล็ก พบบ่อย เช่น 1. รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กน้อย  พบได้บ่อยในเด็กทารกที่รับประทานแต่นมเพียงอย่างเดียว ในผู้ใหญ่ การขาดธาตุเหล็กจากการรับประทานน้อย (เจอได้ไม่บ่อย) 2. การดูดซึมธาตุเหล็กผิดปกติ  อาจเกิดจากการมีกรดในกระเพาะอาหารลดลง เช่น ผู้ที่รับประทานยาลดกรดในกระเพาะอาหารนานๆหรือผู้สูงอายุ  ผู้ที่เคยได้รับการผ่าตัดเอากระเพาะอาหารออก เป็นต้น 3. ความต้องการธาตุเหล็กเพิ่มมากขึ้น  พบได้บ่อยในผู้ที่ตั้งครรภ์อยู่ หรือมีการให้นมบุตร ในเด็กเล็กที่กำลังเจริญเติบโตก็มีความต้องการธาตุเหล็กเพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน  4. สูญเสียธาตุเหล็กมากกว่าปกติ  มักเกิดจากการเสียเลือดเรื้อรัง  ได้แก่ ประจำเดือนออกมากและนานกว่าปกติในผู้หญิงวัยเจริญพันธุ์  เลือดออกในทางเดินอาหารจากสาเหตุต่างๆ เช่น แผลในกระเพาะอาหารเรื้อรัง เลือดออกในหลอดอาหาร ริดสีดวงทวารหนัก เป็นต้น เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Iron deficiency อาการและอาการแสดง             ระยะแรกอาจยังไม่มีอาการใดๆ เนื่องจากมีธาตุเหล็กที่เก็บสะสมสำรองอยู่  เมื่อขาดธาตุเหล็กมากขึ้นจึงค่อยๆเริ่มเกิดอาการ  เช่น หงุดหงิด นอนไม่หลับ  อาการที่เกิดได้บ่อยและทำให้แพทย์วินิจฉัยภาวะขาดธาตุเหล็กได้นั้นมักเกิดจากอาการทางระบบเลือด ได้แก่ การเกิดภาวะโลหิตจาง  ซึ่งจะทำให้มีอาการ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายเวลาออกแรง หรือหากเป็นมากอาจมีอาการเหนื่อยเวลาอยู่เฉยๆ มีอาการเวียนศีรษะ หมดสติ ใจสั่น หัวใจล้มเหลว  ในบางรายที่ขาดธาตุเหล็กจำนวนมากจะทำให้ลิ้นเลี่ยน (atrophic lingual papillae)  ถ้าเป็นนานๆอาจมีเล็บผิดรูป โดยงอเป็นรูปช้อน/เล็บอ่อนช้อนขึ้น (Spoon nail / Koilonychias) เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

การวินิจฉัยภาวะเลือดจาง และการขาดเหล็ก 1. Complete blood counts (CBC)  1.1 Hemoglobin (Hb) คือการวัดปริมาณของ hemoglobin ในเลือด คือภาวะที่มีความเข้มข้นของ Hb น้อยกว่า 13 g/dL ในผู้ใหญ่เพศชาย และน้อยกว่า 12 g/dL ในผู้ใหญ่เพศหญิง   สำหรับเด็กอายุ 2-8 ปี ใช้เกณฑ์ที่น้อยกว่า 11g/dL     1.2 Mean corpuscular volume (MCV) คือการวัดปริมาตรเฉลี่ย (average volume) ของเม็ดเลือดแดง โดยปกติในภาวะ iron deficiency จะพบว่าเม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็กลง ซึ่งเรียกว่า microcytic   จึงทำให้มีค่า MCV ลดลง (< 80 fL) 1.3 Mean corpuscular hemoglobin concentration (MCHC)  คือการวัดความเข้มข้นเฉลี่ยของ Hb ในเม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดแดงที่มี Hb ต่ำกว่าปกติเรียกว่า hypochrom ภาวะ iron deficiency มักเป็นสาเหตุของการตรวจพบ hypochromic erythrocyte ในเลือด 1.4 Red cell distribution width (RDW) คือการวัดความแปรปรวน (variation) ของขนาดของเม็ดเลือดแดง ในเลือด   ค่าปกติอยู่ในช่วง 11.5-14.5%  ในภาวะ iron deficiency จะพบว่ามีค่า RDW เพิ่มขึ้น เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Iron deficiency การรักษาภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก - Oral iron therapy   โดยทั่วไปนิยมใช้ ferrous sulfate ขนาดเม็ดละ 300 mg ซึ่งมีปริมาณเหล็ก อยู่ 60 mg โดยให้รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง อาการข้างเคียงที่สำคัญคือ  คลื่นไส้  อาเจียน, GI distress และอาจพบอาการท้องเสียหรือท้องผูกในผู้ป่วยบางราย   - Parenteral iron therapy    ข้อบ่งใช้สำคัญในการเลือกใช้เหล็กในรูปแบบยาฉีด คือ ผู้ป่วยมีภาวะเสียเลือดที่ไม่สามารถควบคุมได้, ผู้ที่ไม่สามารถทนต่อการใช้ยารูปแบบรับประทาน, ผู้ที่มีปัญหา ในการดูดซึม และผู้ที่ไม่ตอบสนองต่อการใช้เหล็กในรูปแบบรับประทาน ในผู้ที่มีความเสี่ยงของการขาดธาตุเหล็ก เช่น หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร เด็กที่กำลังเจริญเติบโต ผู้ที่บริจาคโลหิตเป็นประจำ ถึงแม้ยังไม่เป็นโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ก็ควรรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูงอย่างเป็นประจำ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Vitamin B12 deficiency SSRU เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

2. การเสียเลือดจากร่างกาย (blood loss ) เสียเลือดเฉียบพลัน (acute blood loss) ได้แก่ ภาวะฉุกเฉินทางศัลยกรรม (surgical condition) เช่น splenic rupture เป็นต้น เสียเลือดเรื้อรัง (chronic blood loss) ได้แก่ พยาธิปากขอ เลือดออกจากแผลในกระเพาะอาหารหรือลำไส้เล็กส่วนต้น เป็นต้น เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

3. การแตกทำลายของเม็ดเลือดแดง (hemolytic anemia) จากภายในเม็ดเลือด (corpuscular) ได้แก่ ภาวะ G6PD deficiency, thalassemia, hereditary spherocytosis เป็นต้น จากภายนอกเม็ดเลือด (extracorpuscular) ได้แก่ isoimmune hemolytic anemia เช่น minor blood group incompatibility และ autoimmune hemolytic anemia เช่น autoimmune hemolytic anemia (AIHA), SLE เป็นต้น เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Thalassemia เป็นโรคโลหิตจางจากพันธุกรรม พบได้ร้อยละ 10 ในประชากรไทย Thalassemia face เป็นโรคโลหิตจางจากพันธุกรรม พบได้ร้อยละ 10 ในประชากรไทย สาเหตุของโรค : เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของยีน ทำให้เม็ดเลือดแดงแตกง่าย สาเหตุเกิดจาก Hemoglobin ลดลง อาการ : ผู้ป่วยจะมีอาการซีด รูปร่างหน้าตาเปลี่ยนแปลง กระดูกบริเวณโหนกหน้าโปนขึ้น หน้าผากยาว ดั้งจมูกแบน (Thalassemia face) ในเด็กพบการเจริญเติบโตช้า กระดูกหักง่าย ตับและม้ามโต ถ้าซีดมากอาจเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวได้ เนื่องจากในผู้ป่วยกลุ่มนี้ต้องได้รับเลือดบ่อยๆ จึงพบวาภาวะเหล็กเกินและต่อมไร้ท่อทำงานผิดปกติได้ ในรายที่ตับและม้ามโต จะทำให้ท้องโต แน่นท้องได้ เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Thalassemia Thalassemia face การตรวจวินิจฉัย : ต้องใช้เทคนิคที่เหมาะสม ถูกต้องและแม่นยำ ซึ่งจะมีผลต่อการรักษาโดยเฉพาะในผู้ที่ต้องการมีบุตรและผู้ที่เป็นพาหะ ด้วยการตรวจหาความผิดปกติของเลือดแดง หรือการตรวจหาชนิดของ Hemoglobin และการตรวจหาความผิดปกติของโรคในระดับยีน เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Target cell, Ovulocyte, Sickle cell…… Red cell morphology Hemoglobin Typing Target cell, Ovulocyte, Sickle cell…… เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Thalassemia การป้องกันและการควบคุม ประเทศไทยมีอุบัติการณ์ของผู้ที่มียีนโรคธาลัสซีเมียแฝงสูงมากถึงร้อยละ 30-40 ของประชากรไทย โดยไม่มีอาการแสดงของความผิดปกติ สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1. ผู้ที่อาจจะมียีนแฝงของโรค ควรได้รับการตรวจเลือด 2. ผู้ที่มีโรคแฝงอย่างแน่นอน โดยไม่ต้องตรวจเลือด ดังนั้นผู้ที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการมียีนแฝงของโรคหรือเป็นพาหะของโรคควรพบแพทย์เพื่อรับคำปรึกษา เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

G6PD deficiency เอนไซม์ G-6-P-D หรือชื่อเต็มคือ Glucose-6-Phosphate-Dehydrogenase เป็นเอนไซม์ที่มีอยู่ในเซลล์ทั่งร่างกาย รวมทั้งเม็ดเลือดแดง ถ้าขาดเอนไซม์ชนิดนี้ จะทำให้เม็ดเลือดแดงแตกง่าย ซึ่งผู้ป่วยที่มีภาวะนี้จะเกิดจากพันธุกรรม มักพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง อาการ : ไข้สูง หนาวสั่น ซีดเหลือง อ่อนเพลียมาก ปัสสาวะสีคล้ายน้ำปลาหรือโคล่า อาการมักเกิดขึ้นทันทีหลังจากมีการติดเชื้อ หรือได้รับยาบางตัว เช่น Aspirin หรือหลังกินถั่วปากอ้า อาจเป็นๆหายๆ หรือบ่อย เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

G6PD deficiency ภาวะแทรกซ้อนของโรค : ถ้าเป็นรุนแรงอาจเกิดภาวะไตวาย แทรกซ้อนได้ การรักษา : ควรนำส่งโรงพยาบาลภายใน 24 ชั่วโมง เพื่อรับการวินิจฉัย ตรวจการตรวจเลือดหาเอนไซม์ G-6-P-D และรักษาตามอาการของผู้ป่วย ถ้ามีภาวะซีดมากอาจได้รับการให้เลือด และควรดื่มน้ำมากๆเพื่อป้องกันภาวะไตวาย เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Idiopathic Thrombocytopenic Purpura : ITP เป็นโรคที่เกิดจากภูมิคุ้มกันทำลายเนื้อเยื่อตนเอง (autoimmune disease) หรือโรคเกล็ดเลือดต่ำ พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ สาเหตุ: ผู้ป่วยจะมีภาวะเกล็ดเลือดต่ำ (thrombocytopenia) โดยไม่ทราบสาเหตุ โดยที่ไขกระดูกสามารถสร้างเกล็ดเลือดได้ตามปกติ แต่ร่างกายมีการสร้างสารต้านเกล็ดเลือดหรือภูมิต้านทานต่อเกล็ดเลือด (Platelet antibody) ขึ้นมาทำลาย เกล็ดเลือดของตนเอง ทำให้เกล็ดเลือดต่ำและเลือดออกง่าย ในเด็กอาจเกิดอาการหลังติดเชื้อไวรัส เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Idiopathic Thrombocytopenic Purpura : ITP อาการ: มีจุดแดงขึ้นตามตัว บางคนอาจมีรอยจ้ำเขียวร่วมด้วย โดยไม่มีอาการอื่นนำมาก่อนและอาจมีเลือดออกตามที่ต่างๆร่วมด้วย เช่น เลือดกำเดาไหล เลือดออกตามไรฟัน ถ่ายเป็นเลือด เป็นต้น ผู้ป่วยจะไม่มีไข้ ตับ ม้าม และต่อมน้ำเหลืองไม่โต ภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายคือ อาจมีเลือดออกในสมองถึงตายได้ การรักษา : ควรป้องกันภาวะเลือดออกง่าย หากสงสัย ควรนำส่งโรงพยาบาลทันที เพื่อรับการตรวจเลือด ถ้าจำเป็นอาจตรวจไขกระดูกและให้ยา Prednisolone ส่วนมากจะหายภายใน 2–3 เดือน บางรายอาจเป็นมากกว่า 3 เดือน ซึ่งจะเป็นอาการเรื้อรัง อาจรักษาโดยการตัดม้าม หรือให้ภูมิคุ้มกัน (Immune suppressive age) หรือให้เลือดทดแทน เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Hemophilia เป็นโรคที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับระบบการแข็งตัวของเลือด ทำให้มีอาการเลือดออกง่ายและหยุดยาก ซึ่งจะเป็นมาแต่กำเนิด สาเหตุ: เกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรม ถ่ายทอดแบบ X-linked recessive transmission) ยีนผิดปกตินี้อยู่บน X chromosome ดังนั้นจึงพบได้ในเพศชายเท่านั้น โรคนี้มี 3 ชนิด คือ - ฮีโมฟีเลีย เอ เกิดจากความผิดปกติของแฟคเตอร์VIII ยีน (FVIII gene) ทำให้มีการขาดการทำงานของปัจจัย การแข็งตัวของเลือด คือ Factor 8 (FVIII) (พบได้มาก ร้อยละ 80-85) - ฮีโมฟีเลีย บี เกิดจากความผิดปกติของแฟคเตอรIX ยีน (FIX gene) ทำให้มีการขาดการทางานของปัจจัย การแข็งตัวของเลือด คือ Factor 9 (FIX) - ฮีโมฟีเลีย ซี เกิดจากความผิดปกติของแฟคเตอรXI ยีน (FXI gene) ทำให้มีการขาดการทางานของปัจจัย การแข็งตัวของเลือด คือ Factor 11 (FXI) (ไม่ค่อยพบ) เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

Hemophilia อาการ: เลือดออกง่าย เป็นๆหายๆ มาตั้งแต่เด็ก มักจะออกเป็นจ้ำใหญ่ๆ ไม่เป็นจุดแดง หรือออกเป็นก้อนนูน โดยมักเกิดจากการกระทบกระแทก เล็กๆน้อยๆ บางรายอาจมีแผลแล้วมีเลือดออกนานและหยุดยาก บางรายอาจมีเลือดออกในกล้ามเนื้อจนซีดและ shock ถ้าเลือดออกในกล้ามเนื้อคอและกล่องเสียง อาจกดหลอดลมได้ บางรายอาจมีเลือดออกโดยเกิดขึ้นเองในข้อ เช่น ข้อศอก ข้อเข่า ข้อมือ ข้อเท้า เป็นต้น ทำให้มีอาการปวด บวม แดง ร้อน คล้ายข้ออักเสบ และถ้ามีเลือดออกในสมอง อาจถึงแก่ชีวิตได้ การรักษา : 1. ป้องกันการเกิดเลือดออก 2. ถ้ามีเลือดออกควรทำการห้ามเลือด และนำส่งโรงพยาบาลทันที 3. ให้พลาสมา หรือ ยา Prednisolone เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU

เอกสารอ้างอิง วราภรณ์ บุญเชียง และวิลาวัณย์ เตือนราษฎร์. (2557). การรักษาพยาบาลโรคเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 3). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิทยา ศรีดามา. (2552). การสัมภาษณ์และตรวจร่างกาย. (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชมรมผู้ป่วยโรคเลือดออกง่ายฮีโมฟีเลีย. (2561) ค้นหาเมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2561 จาก http://www.thaihemophilia.org/news.php?main_id=2&sub_id=2&news_id=36 เป็นนักปฏิบัติ ถนัดวิชาการ เชี่ยวชาญการสื่อสาร ชำนาญการคิด มีจิตสาธารณะ SSRU