สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ออกมาในรูปแบบรายงานผลการฝึกงาน จึงมี บทที่ ….ไปจบสรุป
Advertisements

แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
ระบบการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน ECS (Emergency Care System)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
วิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนา
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ.
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพ Health Needs Assessment - HNA
การสำรวจและอธิบายข้อมูล
Family assessment การประเมินปัญหาสุขภาพครอบครัว
(แผนบูรณาการขยะและสิ่งแวดล้อม)
กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer’s Decision Making)
แผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH, MPH, PhD) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
กรอบแนวคิดในการพัฒนา มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัย
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
ทิศทางการบริหารจัดการยุทธศาสตร์งานอนามัยสิ่งแวดล้อม
การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
Community health nursing process
ความหมายและความสำคัญ ของการประเมินภาคปฏิบัติ (Performance Assessment)
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน งานวิชาการและนวัตกรรม กรมอนามัยปี ๒๕๖๑
ระบบการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายสำคัญ ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินงานที่เป็นคำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้ตรวจราชการในปี 2561 มี 12 ประเด็นคือ 1. District Health.
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
Promoter - Supporter -Coordinator-Regulator
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
กลุ่มที่ ๗ ศูนย์อนามัยที่ ๑ ๒ ๓.
ทพ.สุธา เจียมมณีโชคชัย รองอธิบดีกรมอนามัย
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
(เครื่องมือทางการบริหาร)
ชี้แจงตัวชี้วัด/โครงการNCD ปี 2561
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
แนวทางการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3 ประจำปี 2561
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School- Based Management
พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
หมวด 1 การนำองค์กร และการจัดการดี
อภิญญา เวชยชัย ประธานคณะกรรมการติดตามและประเมินผล
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
เครือข่ายบริการ สุขภาพ อำเภอแม่ฟ้าหลวง
ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล
การประชุมคณะทำงานการจัดการพลังงาน อาคาร บก. ทท
การวางแผนงานสาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร แนวทางกำหนดปัญหา 1. การระบุปัญหาโดยใช้หลักของ 6 D ประกอบด้วย ตาย(Death) พิการ/การไร้ความสามารถ (Disability) โรค(Disease) ความไม่สุขสบาย (Discomfort) ความไม่พึงพอใจ (Dissatisfaction) และข้อบกพร่อง/ขาดแคลน (Defect) 2.การระบุปัญหาโดยใช้เปรียบเทียบกับเกณฑ์ หรือค่ามาตรฐานสากล ซึ่งเป็นค่าตังเลขที่แสดงถึงเป้าหมายว่าต้องการให้ชุมชนมีสุขภาพอยู่ในระดับใด 3.การระบุปัญหาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม (Nominal group process) โดยให้ชุมชนหรือผู้นำชุมชน หรือประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจด้วยตนเองว่าอะไรเป็นปัญหาของชุมชน

น้ำหนักของเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้ สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร น้ำหนักของเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้ ความสำคัญ น้ำหนัก (W) ขนาดของปัญหา 4 ความร้ายแรงเร่งด่วน 3 แนวโน้มการแก้ไขปัญหา 5 ความร่วมมือของชุมชน 5 ผลกระทบในระยะยาว 2 ** อ้างอิง WHO

สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร การให้คะแนนปัญหา (R) ให้คะแนนปัญหาแต่ละปัญหาในทุก ๆ หลักเกณฑ์หรือทุกตัวแปร ตามผลการวิเคราะห์ข้อมูล และใช้วิจารณญาณว่าปัญหานั้น ๆ ในตัวแปรที่ไม่มีค่าสถิติสนับสนุน เช่น ความยากง่าย ความตระหนักของชุมชน เป็น ปัญหาใด สูงต่ำเพียงใด การให้คะแนนสูงต่ำตามเกณฑ์ ดังนี้ 5 หมายถึง มากที่สุดหรือสำคัญที่สุด 4 หมายถึง มาก หรือสำคัญมาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง น้อย 1 หมายถึง น้อยที่สุด

สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร 1. ขนาดของปัญหา (size of problem) ประชากรที่ถูกกระทบจากปัญหา ถ้ามีประชากรที่ได้รับผลจากปัญหามากก็ควรได้การจัดลำดับความสำคัญสูงกว่าเพราะขนาดปัญหาใหญ่ คะแนนมาก ขนาดใหญ่ 0 –20% 21 – 40% 41 – 60% 61 – 80% 81 – 100% 5 4 3 2 1 ขนาดเล็ก คะแนนน้อย

สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร 2. ความรุนแรงหรือความเร่งด่วนของปัญหา (severity of problem) หมายถึง ปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาที่มีความรุนแรงหรือเร่งด่วนที่จะต้องแก้ไข หากปล่อยไว้นาน อาจเกิดความพิการ หรือเสียชีวิตได้ เป็นต้น คะแนนมาก รุนแรงมาก ไม่สุขสบาย เจ็บป่วย เจ็บป่วยรุนแรง พิการ ตาย 5 4 3 2 1 รุนแรงน้อย คะแนนน้อย

คะแนนมาก แก้ง่าย แก้ยาก คะแนนน้อย สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร 3. ความเป็นไปได้ แนวโน้มในการปัญหา หรือความยากง่ายในการแก้ปัญหา (feasibility or ease) เช่น ข้อจำกัดทางวิชาการ ข้อจำกัดทางการบริหารจัดการ ข้อจำกัดด้านเวลา หรือจำนวนทรัพยากรที่ต้องใช้ในการแก้ปัญหา ปัญหาที่ แก้ได้ง่ายหรือมีแนวโน้มในการแก้ปัญหาที่ดีควรได้จัดลำดับความสำคัญสูงกว่า คะแนนมาก แก้ง่าย ยากมาก ยาก ปานกลาง/ก่ำกึ่ง ง่าย ง่ายมาก 5 4 3 2 1 แก้ยาก คะแนนน้อย

สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร 4. ความตระหนัก การยอมรับหรือความร่วมมือในการแก้ปัญหาของชุมชน (Community concern) ปัญหาที่ชุมชนตระหนักและให้ความร่วมมือดำเนินการแก้ไข ควรจะจัดลำดับความสำคัญสูงกว่า ร่วมมือมาก คะแนนมาก ร่วมน้อยที่สุด ร่วมน้อย ปานกลาง/ก่ำกึ่ง ร่วมมาก ร่วมมากที่สุด 5 4 3 2 1 ร่วมมือน้อย คะแนนน้อย

สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร 5. ผลกระทบในระยะยาว (Impact) ปัญหาที่มีผลกระทบในระยะยาวมากกว่า ควรจะจัดลำดับ ความสำคัญสูงกว่า กระทบมาก คะแนนมาก น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง/ก่ำกึ่ง มาก มากที่สุด 5 4 3 2 1 กระทบน้อย คะแนนน้อย

คะแนนนำที่มาจัดลำดับ สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร การประเมินโดยตารางตัดสินใจ (Multi-variable decision) โดยมีตัวแปรต่าง ๆ ใช้ในการตัดสินใจ ได้แก่ คะแนน (R) น้ำหนัก (W) R คูณ W คะแนนนำที่มาจัดลำดับ

ปัญหาสุขภาพของประชาชนอำเภอเมืองสกลนคร ปี ๒๕๖๐ ใบงานที่ ๒ ปัญหาสุขภาพของประชาชนอำเภอเมืองสกลนคร ปี ๒๕๖๐ ปัญหา ขนาดปัญหา ความรุนแรง แนวโน้ว การยอมรับ ผลกระทบ คะแนน ลำดับ ที่   (W=?) R RW 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 จารย์เวิน

ผลการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาโดยใช้ตารางตัดสินใจ สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ปัญหา ขนาดปัญหา ความรุนแรง แนวโน้ว การยอมรับ ผลกระทบ คะแนน ลำดับ ที่   (W=4) (W=3) (W=5) (W=2) R RW 1 มะเร็ง 3 12 5 15 2 10 62 6 เตี้ย/ผอม/โง่ 8 4 44 อุบุติเหตุ 16 64 MCH 20 70 สารเคมี 56 9 NCDs 69 7 โรคระบาด 57 Green Clean Hos. 25 66 RDU 63 คบส. 11 ยาเสพติด 52 สุขภาพจิต 45 13 สุขภาพช่องปาก 43

ลำดับของปัญหาสุขภาพ จังหวัดสกลนคร สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ลำดับของปัญหาสุขภาพ จังหวัดสกลนคร 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

ข้อมูลสนับสนุน และตัวชี้วัดปัญหาสุขภาพ จังหวัดสกลนคร ข้อมูลสนับสนุน และตัวชี้วัดปัญหาสุขภาพ จังหวัดสกลนคร สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ลำดับ ปัญหา ข้อมูลสนับสนุน ตัวชี้วัดดำเนินการ 1 MCH อัตรามารดาตาย ปี 57-60 16.4, 59.5, 33.1 และ 31.0 อัตรามารดาตาย ไม่เกิน 15 ต่อแสนการเกิดมีชีพ 2 NCDs ผู้ป่วย DM ควบคุมโรคได้ ปี 59-60 ร้อยละ 11.7 , 19.2 ผู้ป่วย DM มีผล HbA1C<7mg% ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 3 Green Clean Hos. รพ.ผ่านเกณฑ์ ระดับพื้นฐาน ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 ของสถานบริการผ่านการ 4 อุบัติเหตุ อัตราผู้บาดเจ็บ ปี 56-60 12.2, 18.4, 26.1, 30.5 และ 17.2 อัตราผู้บาดเจ็บ ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน 5 RDU ร้อยละของ รพ.ที่เป็น RDU Hospital ตามเกณฑ์ขั้น 1 ร้อยละ 27.8 รพ.ที่เป็น RDU Hospital ตามเกณฑ์ขั้น 1 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 6 มะเร็ง การลดเวลารอคอยการรักษา มะเร็ง 5 อันดับแรก ได้ร้อยละ 75 ลดระยะเวลารอคอยได้มากกว่าร้อยละ 80 7 โรคระบาด อัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง 2,457.40 ต่อประชากรแสนคน อัตราอุจจาระร่วง น้อยกว่า 1300 ต่อประชากรแสนคน 8 คบส. ผลการตรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพผ่านมาตรฐาน (ศ.วิทย์เขต 8) ร้อยละ 85.2 ผลิตภัณฑ์สุขภาพผ่านมาตรฐาน (ศ.วิทย์เขต 8) ร้อยละ 95 9 สารเคมี 10 ยาเสพติด ผู้ป่วยหยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือนร้อยละ 96.9 ,ประสิทธิภาพการเฝ้าระวัง? ผู้ป่วยหยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน ร้อยละ 92 11 สุขภาพจิต อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ 5.5 ต่อประชากรแสนคน อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จไม่เกิน 6.3 ต่อประชากรแสนคน 12 เตี้ย/ผอม/โง่ เด็กประถม เตี้ย ร้อยละ 13.7 ผอม ร้อยละ 4.8 เด็กประถม เตี้ย น้อยกว่าร้อยละ 5 ผอม น้อยกว่า 10 13 สุขภาพช่องปาก อัตราใช้บริการสุขภาพช่องปากทุกสิทธิ์ปี 60 ร้อยละ 22.1 อัตราใช้บริการสุขภาพช่องปากทุกสิทธิ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 35

สาธารณสุขจังหวัดสกลนคร