2.1.1ลักษณะของสมาธิ จากหนังสือหลักสูตรครูสมาธิเล่ม 2 ( หน้า 4-7 )
คำว่า “สมาธิ” เป็นภาษาบาลี แปลว่าการตั้งใจมั่น
ฉะนั้น การทำอะไร ด้วยความตั้งใจ ก็เป็น “สมาธิ”
เมื่อทำสมาธิสะสมพลังจิตได้มากแล้ว จิตก็สงบ จะพบสิ่งพิเศษต่างๆเช่น ตัวเบาสบาย เหมือนตกเหว
ลักษณะต่างๆที่เกิดขึ้น อาจเป็นประเดี๋ยว แล้วหายไป เป็นธรรมชาติของสมาธิ เช่น ช้างกระดิกหู งูแลบลิ้น
จิตที่เป็นสมาธิแตกต่างจากจิตธรรมดา จิตปกติธรรมดา จะเป็นสุขหรือทุกข์ ก็เพราะอารมณ์
ต้องการความสุข คือสมปราถนา ไม่ต้องการความทุกข์ คือความผิดหวัง ธรรมชาติของจิต ต้องการความสุข คือสมปราถนา ไม่ต้องการความทุกข์ คือความผิดหวัง จิตปกติธรรมดา หรือ ธรรมชาติ จะเป็นสุข หรือ ทุกข์ ก็ด้วย อารมณ์
เช่นจิตเบาสบายนี้คือ เริ่มกำจัดอารมณ์ได้บ้างแล้ว แต่จิตเป็นสมาธิ จะตรงกันข้าม คือเริ่มฝึกสมาธิ ก็เริ่มกำจัดอารมณ์ เช่นจิตเบาสบายนี้คือ เริ่มกำจัดอารมณ์ได้บ้างแล้ว
หลวงพ่อกล่าวถึงลักษณะขาดสมาธิ เช่นการเหม่อลอย ความหลงลืม ความหุนหันพลันแล่น ทำโดยไม่ยั้งคิด เป็นต้น การทำสมาธิ จะแก้ไขลักษณะการขาดสมาธิได้
ลักษณะของสมาธิมี 2 แบบ 1.สมาธิธรรมชาติ 2.สมาธิที่สร้างขึ้น
สมาธิธรรมชาติ คือ การพักผ่อน นอนหลับ ที่ได้พลังจิต แต่ได้มาก็ใช้ไปกับชีวิตประจำวัน สมาธิธรรมชาติ ก็ให้ผลตามธรรมชาติ
สมาธิที่สร้างขึ้น คือ การแก้ไขธรรมชาติ ให้จิตมีการพัฒนาขึ้นโดยการสร้างขึ้นมาอย่างมีระบบ เช่น นับแต่วินาทีแรกของการบริกรรม ด้วยความตั้งใจ ในขณะทำสมาธิถือได้ว่าเป็นสมาธิสร้างขึ้น จะได้พลังจิตมั่นคง
สรุปว่า ลักษณะของสมาธิมี 4 อย่าง 1.ความสงบ (เกิดจากการลดระดับอารมณ์) 2.ความจดจ่อ (อยู่ในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง จิตไม่ซัดส่ายไปมา) 3.การลดระดับอารมณ์ (มีความเบากานเบาใจ) 4.ความมีการสบาย (มีความสุข เปรียบธนบัตร) ยับยั้งความฟุ้งซ่านที่เป็นอันตราย