แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM ) การป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนภายในปี 2561 ตำบลสร้างคอม อำเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี
ผังจุดหมายปลายทางการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ภายในปี 2561 ตำบลสร้างคอม อำเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2561 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้อง เหมาะสม ชุมชนมีระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยคุกคามสุขภาพ โดยชุมชน ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคม ชุมชนเป็นเจ้าของโครงการฯ โดยชุมชนเพื่อชุมชน ชุมชนมีส่วนร่วมเตรียมพร้อม รับ ภาวะฉุกเฉิน ทางสาธารณสุข รวมทั้งอุบัติภัยทางถนน มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดูแลสุขภาพ ตนเองและชุมชน ชุมชนมีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาดูแลสุขภาพ ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) อปท. เป็นศูนย์ประสานความร่วมมือ ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนงาน ส่งเสริมการสร้างมาตรการทางสังคม และสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง อสม. แกนนำ กองทุนต่างๆ และประชาสังคม มีส่วนร่วม พัฒนาชุมชนให้ตัดสินใจแสดงบทบาท สนับสนุนการ ดำเนินงานของชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานและทรัพยากร หน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวง สาธารณสุข พัฒนา สนับสนุนวิชาการ ประสานงาน และบูรณาการนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) มีการจัดการความรู้และนวตกรรมของเครือข่าย ที่เชื่อมโยงมีประสิทธิภาพ มีระบบการสื่อสารสาธารณะที่ครอบคลุมกลุ่ม เป้าหมาย มีกลไกการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ครอบคลุมทุกระดับ มีระบบการติดตามและประเมินผลคุณภาพ กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ มีการบริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่ายที่มี ประสิทธิภาพ ระดับพื้นฐานองค์กร (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) มีข้อมูล สารสนเทศ ที่ครอบคลุม ถูกต้องครบถ้วน เชื่อมโยง และเป็นปัจจุบัน บุคลากรและแกนนำเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมี สมรรถนะตามที่องค์กรกำหนด มีศูนย์ประสานงานเครือข่ายที่ครอบคลุม /ทีมงานมี คุณลักษณะทีเอื้อต่อการทำงานและมีระบบแรงจูงใจที่ดี ภ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) การพัฒนางานทางการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ภายในปี 2561 ตำบลสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2561 ชุมชนมีและใช้มาตรการทางสังคมโดยชุมชน ชุมชนสามารถเตรียมพร้อมและมีส่วนร่วม รับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ชุมชนสามารถเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ โดยชุมชน ประชาชน สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม ประชาชนสามารถดูแล สุขภาพได้ด้วยตนเอง ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ประชาชน อสม. แกนนำ กองทุนต่างๆ และประชาสังคม มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชนสามารถตัดสินใจแสดงบทบาท สนับสนุนการดำเนินงาน องค์กรเอกชน องค์กรอิสระทั้งในและนอกประเทศ มีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงานและทรัพยากร อปท. เป็นศูนย์ประสานความร่วมมือ มีบทบาทร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนงาน ส่งเสริมการสร้างมาตรการทางสังคม และสนับสนุนทรัพยากร หน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีส่วนร่วม พัฒนา สนับสนุนวิชาการ ประสานงาน และบูรณาการนโยบายสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ภาคี ระบบการสื่อสารสาธารณะที่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายที่มีคุณภาพ ระบบการติดตาม และประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ บริหารจัดการทรัพยากรและเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ กลไกการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ครอบคลุมทุกระดับ จัดการความรู้และนวัตกรรมของเครือข่ายที่เชื่อมโยง มีประสิทธิภาพ กระบวนการ ข้อมูล สารสนเทศ มีคุณภาพ ครอบคลุม ถูกต้อง ครบถ้วน เชื่อมโยง และเป็นปัจจุบัน บุคลากรและแกนนำเครือข่ายสุขภาพทุกระดับมีสมรรถนะตาม ที่องค์กรกำหนด หน่วยประสานงานเครือข่ายสุขภาพ ที่ครอบคลุมองค์กรทุกระดับ ทีมงานมีคุณลักษณะทีเอื้อต่อการทำงาน มีวัฒนธรรมและแรงจูงใจที่ดี พื้นฐาน
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ร่วม ตำบลสร้างคอม อำเภอสร้างคอม จังหวัดอุดรธานี (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2561 ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ชุมชน มีมาตรการทาง สังคม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดย ชุมชน ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพและเป็นจริง พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม
Action Needs งานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม เป็นเจ้าภาพในการทบทวน SRM ของหน่วยงานโรงพยาบาลสร้างคอม จัดทำคู่มือ แนวทาง SRM ในบทบาทของกรมให้ชัดเจน จัดประชุม SRM สัญจรเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับภาคีเครือข่าย พัฒนาความร่วมมือและประสานนโยบายกับหน่วยงานภายในตำบลสร้างคอม เช่น เทศบาลตำบล ผู้นำชุมชน อสม.ในพื้นที่ - สรุปถอดบทเรียนเป็นภาพรวมของกรมฯ และจัดทำเป็นเอกสารเผยแพร่(เดือนกันยายน 2561) - ทำ Model การใช้ SRM อย่างน้อย อำเภอละ 1 พื้นที่ - เป็นวิทยากรกระบวนการในการถ่ายระดับแผนที่ยุทธศาสตร์ในพื้นที่ - จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับอำเภอ และจังหวัด - ติดตามผลการดำเนินงาน สรุปถอดบทเรียนในระดับตำบล อำเภอต่อไป