ดร. สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อินเดีย : มุมมองด้านการศึกษาที่เป็นความต้องการของสังคมไทย
Advertisements

สื่อประกอบการเรียนการสอน
นโยบายและเป้าหมายในการบริหาร ระบบเศรษฐกิจ
มองอนาคตอุดมศึกษาไทย
การใช้พลังงาน รายได้ประชาชาติ และประชากร
Circular saw The term circular saw is most commonly used to refer to a hand-held electric circular saw designed for cutting wood, which may be used less.
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล Individualize Education Program : IEP
การสร้างและจัดการภูมิปัญญา การแพทย์พื้นบ้าน วิจารณ์ พานิช ยุทธศาสตร์การทำงานของกรมฯ.
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
Skills Development and Lifelong Learning: Thailand in 2010s Tipsuda Sumethsenee Office of the Education Council Thailand’s Ministry of Education.
ศึกษานิเทศน์และเจ้าหน้าที่จากองค์การแพธ
บำบัดรักษาฟื้นฟูผู้ติดยาและสารเสพติด
ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล
และการรับแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา
วิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนา
แผนปฏิบัติการ สพฐ. ปี 2554.
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (DVE : Dual Vocational Education)
การประมาณโหลดอาคารชุด ตาม วสท. 2545
มองอนาคตพลังงานไทย – เราควรถกกันเรื่องอะไร
การจัดการเชิงกลยุทธ์
Market System Promotion & Development Devision
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 และ แผนงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2561
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
นำเสนอโดยนายอนุสรณ์ โชติชื่น และนายสมศักดิ์ พัดพรม
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
ศาสนศาสตร์เรื่องคริสตจักร
กำหนดการสัมมนา CIO วันที่ 26 ธค.49 ณ MICT ชั้น ICT3 ห้องประชุม 1
ของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน
Educational Information Technology
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
แหล่งสารสนเทศ ดร.นฤมล รักษาสุข.
การเพิ่มกลุ่มข้อมูลลงในกราฟโดยใช้ Graph Wizard
การพัฒนาระบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ National e-Payment
ประเทศไทย 4.0 โมเดลการขับเคลื่อนสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของ
ระเบียบวาระการประชุม วันพุธที่ ๒๗ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑
กับการก้าวสู่ยุคประเทศไทย 4.0
บทบาทและอำนาจหน้าที่ของสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางการดำเนินงาน โครงการ กองทุนแม่ของแผ่นดิน
แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 พ. ศ
ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์อุดม คชินทร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานการประชุมเรื่อง นโยบายและแนวทางของหลักสูตรครูคุณภาพเป็นเลิศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ.
สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่
โครงสร้างการทำงานภายใต้โครงการประชารัฐ
การปรับยุทธศาสตร์ (Reprofiling) มหาวิทยาลัยกลุ่มใหม่
พลังงานทดแทนของประเทศไทย
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ วิชญ์ชัย ธรรมประดิษฐ์
กระบวนการวางแผนพัฒนาจังหวัดและการจัดทำคำของบประมาณ
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดชัยภูมิ
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดสระแก้ว
แสง และการมองเห็น.
การเขียนภาพร่าง Free hand Sketching สัปดาห์ที่ 1-3 สัปดาห์ที่ 2.
ประชุมคณะอนุกรรมการติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำและจัดสรรน้ำ
Education การศึกษาในยุคกลาง
การดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2554
นวัตกรรมการบริการสารสนเทศในยุคประเทศไทย 4.0
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 รอบที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดสุรินทร์
แนวทางการปฏิบัติเมื่อบุคลากรสัมผัสเลือด หรือสิ่งคัดหลั่งขณะปฏิบัติงาน
พืชเกษตรอย่างครบวงจรในระดับพื้นที่
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
แนวคิดการจัดหลักสูตร โดย รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย ชำนิ
นโยบายการศึกษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 21 เมษายน 2559.
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
ข้อเสนอแนวทางการพัฒนาระบบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
บทที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างงานโภชนาการ กับการสาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบบริหารจัดการศึกษาของไทยและกรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ดร. สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ๙ มีนาคม ๒๕๕๓ รร. สยามซิตี้ กทม.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๒ ● กรอบแนวทางการจัดการศึกษาของชาติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๒ ข้อเสนอแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ สอง (พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑) แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๙) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) นโยบายรัฐบาลด้านการศึกษา นโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการพัฒนา กศ.ศธ.

ระบบการศึกษาไทย 30 34

และเทียบโอนผลการเรียนได้ ระบบการศึกษามี ๓ รูปแบบ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย = การศึกษาตลอดชีวิต และเทียบโอนผลการเรียนได้

การศึกษาในระบบ 15 ปีเรียนฟรี Source: Ministry of Education

● องค์กรที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษา: - กระทรวงศึกษาธิการ มี ๕ องค์กรหลัก - กระทรวงอื่นๆ: จัดการศึกษาเฉพาะทางตามความต้องการและความชำนาญของหน่วยงาน ได้แก่ ก.กลาโหม ก.สาธารณสุข มหาดไทย สนง.ตำรวจแห่งชาติ ฯลฯ - มีองค์กรอิสระ ทำหน้าที่การประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษาทุกแห่ง : สมศ. - มีองค์กรดูแลวิชาชีพ และบริหารบุคคลของครู - อปท. จัด กศ.ของท้องถิ่น - เอกชน จัด กศ.ของเอกชน

โครงสร้างกระทรวงศึกษาธิการ

การปฏิรูประบบการศึกษาปี ๒๕๔๒ - ขยายการศึกษาภาคบังคับจาก 6 เป็น 9 ปี - ขยายการศึกษาภาคบังคับจาก 6 เป็น 9 ปี - เทียบโอนผลการเรียน ประสบการณ์ - ปฏิรูประบบอุดมศึกษาให้มีเอกภาพ - ปฏิรูปอาชีวศึกษา เพื่อตอบสนองการ พัฒนากำลังคนของประเทศ - สนับสนุนการศึกษาทางเลือก

แนวการจัดการศึกษา 40 47

ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริม ให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ 48

ระบบการบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเอกชน ระบบการบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเอกชน

- การบริหารและการจัด กศ.ในส่วนกลาง สกศ.+ทบวง+ศธ. = ศธ. การบริหารและการจัดการศึกษา - การบริหารและการจัด กศ.ในส่วนกลาง สกศ.+ทบวง+ศธ. = ศธ. - เขตพื้นที่การศึกษา - โรงเรียนนิติบุคคล - มหาวิทยาลัยในกำกับรัฐ - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - เอกชน - การศึกษาทางเลือก

กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง (๒๕๕๒-๒๕๖๑)

วิสัยทัศน์ คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ

เป้าหมาย ภายในปี ๒๕๖๑ มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ โดยเน้นเป้าหมายหลักสามประการ  คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรู้  เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้อย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ  ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม ในการบริหารและจัดการศึกษา

กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ๔ ใหม่  พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่  พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่  พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ ยุคใหม่  พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่

๑. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ ให้มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง แสวงหาความรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สามารถสื่อสาร คิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา คิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม ทำงานเป็นกลุ่มได้อย่างเป็นกัลยาณมิตร มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสำนึกและความภูมิใจในความเป็นไทย ยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รังเกียจการทุจริตและต่อต้านการซื้อสิทธิ์ ขายเสียง

๑. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ - พัฒนาคุณภาพการศึกษาและเรียนรู้ - ผลิตและพัฒนากำลังคนที่มีคุณภาพ มีสมรรถนะ และความรู้ ความสามารถ

๑. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ ๑.๑ พัฒนาคุณภาพการศึกษาและเรียนรู้ - ให้มีระบบการวัด ประเมินผลที่เป็นมาตรฐาน เทียบเคียงกันได้ - แก้ปัญหา พัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก - ส่งเสริมบทบาท สร้างความเข้มแข็งครอบครัวครอบครัว

๑. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ ๑.๒ ผลิตและพัฒนากำลังคนที่มีคุณภาพ มีสมรรถนะ และความรู้ ความสามารถ - พัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ และคุณวุฒิวิชาชีพ - จัดการอาชีวศึกษา โดยเน้นการปฏิบัติ ขยายทวิภาคี และสหกิจศึกษา - การจัดตั้งสถาบันอาชีวศึกษาให้สอดคล้องกับการพัฒนากลุ่มจังหวัด

๒. พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ ให้เป็นผู้เอื้ออำนวยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เป็นวิชาชีพที่มี คุณค่า สามารถดึงดูดคนเก่งคนดี มีใจรักในวิชาชีพมาเป็นครู โดย - พัฒนาระบบผลิตครู คณาจารย์ และบุคลากร กศ. - การพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา - การใช้ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา

๒.๑ พัฒนาระบบผลิตครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ๑) ปรับระบบการผลิต คัดสรร ค่าตอบแทน และสวัสดิการ ให้สามารถดึงดูดคนเก่งและดี มีใจรักในวิชาชีพมาเป็นครู ๒) ให้มีสถาบันอุดมศึกษาที่เน้นความเป็นเลิศด้านการผลิตครู วิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับวิชาชีพครู

๒.๒ การพัฒนาครู คณาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา ๑) ปรับปรุงและพัฒนาระบบและเกณฑ์การประเมินสมรรถนะวิชาชีพครูให้เชื่อมโยงกับความสามารถในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ ๒) เร่งจัดตั้งกองทุนพัฒนาและกองทุนส่งเสริมครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ๓) พัฒนาครู คณาจารย์ โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ให้สามารถจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ พัฒนาครูประจำการที่สอนไม่ตรงวิชาเอก มีระบบและมาตรการจูงใจให้ครู คณาจารย์ ผู้บริหาร และบุคลากรการศึกษาพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

๒.๓ การใช้ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ๑) คืนครูให้กับผู้เรียน โดยลดภาระงานอื่นที่ไม่จำเป็น และจัดให้มีบุคลากรสายสนับสนุนให้เพียงพอ ๒) ปรับปรุงเกณฑ์กำหนดอัตราครู โดยพิจารณาจากภาระงานที่ชัดเจน และจัดให้มีจำนวนครูพอเพียงตามเกณฑ์ และมีวุฒิตรงตามวิชาที่สอน ๓) แยกบัญชีเงินเดือนและวิทยฐานะของข้าราชการครู และบุคลากรการศึกษาออกจากกัน

๓. พัฒนาคุณภาพสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิตและมีคุณภาพ โดย - พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาทุกระดับ/ประเภทให้สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ - พัฒนาแหล่งเรียนรู้อื่นสำหรับการศึกษาและเรียนรู้ทั้งในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เช่น ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และศูนย์การกีฬาและนันทนาการ เป็นต้น

๔. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่ เน้นการกระจายอำนาจสู่สถานศึกษา เขตพื้นที่ และ อปท. การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน มีระบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล โดย ๔.๑ กระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาให้กับสถานศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษา ๔.๒ พัฒนาระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลให้มีประสิทธิภาพ

๔. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่ ๔.๓ พัฒนาการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษา อย่างมีคุณภาพ ๔.๔ พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน ภาคเอกชน และทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษาและสนับสนุนการศึกษาและเรียนรู้ให้มากขึ้น ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมขน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอื่นในการจัดการศึกษามากขึ้น ส่งเสริมบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดและสนับสนุนการจัดการศึกษา

๔. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่ ๔.๕ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการศึกษา - ปรับระบบการบริหารจัดการการเงินและงบประมาณ โดยเน้น demand side - วางแผนอย่างเป็นขั้นตอนและจัดระบบบริหารจัดการรองรับการยุบ เลิก ควบรวมสถานศึกษาขนาดเล็ก

ข้อเสนอกลไกหลัก เพื่อขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา ๑ คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา - คณะกรรมการนโยบายปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน - คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธานฯ คณะกรรมการทั้ง ๒ คณะ ให้ยุบเลิกเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาปฏิรูป โดยให้สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ปฏิบัติหน้าที่ฝ่ายเลขานุการ

๒ จัดตั้งหน่วยงาน/ปรับบทบาทหน่วยงานเพื่อเป็นกลไกรับรองคุณภาพมาตรฐาน และเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ได้แก่ ๒.๑ คณะกรรมการคุรุศึกษาแห่งชาติ เพื่อพัฒนานโยบายและวางแผนการผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ๒.๒ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพแห่งชาติ ๒.๓ สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติและกองทุน ๒.๔ ปรับบทบาท สนง.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเป็น สนง.การศึกษาตลอดชีวิต

๓ มอบหมายให้หน่วยงานที่มีอยู่แล้ว ปฏิบัติภารกิจเพิ่มเติมหรือเร่งรัดดำเนินการ ดังนี้ ๓.๑ ให้สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติและสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดำเนินการประกันการเรียนรู้และรับรองมาตรฐานผู้เรียน โดยประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในชั้นเรียนสุดท้ายของแต่ละช่วงชั้นให้เป็นการวัดผลระดับชาติ เพื่อให้สามารถใช้การวัดประเมินผลที่เป็นมาตรฐาน สามารถเทียบเคียงกันได้

๓.๒ ให้สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา - ขับเคลื่อนการกระจายอำนาจสู่เขตพื้นที่และสถานศึกษาโดยให้มีองค์คณะบุคคลที่มีความรู้ มีความเข้าใจ และประสบการณ์เกี่ยวกับการกระจายอำนาจ - สนับสนุนส่งเสริมการศึกษาทางเลือก โดยให้มีองค์คณะบุคคลเพื่อดำเนินการ โดยคำนึงถึงความ สอดคล้องกับหลักการและแนวทางจัดการศึกษาตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ และนโยบายรัฐบาล

ข้อเสนอกลไกสนับสนุนต้องพัฒนา/ปรับปรุง ๑ การพัฒนาระบบการเงิน การคลัง ๒ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเพื่อการศึกษา ๓ การปรับปรุงแก้ไข บังคับใช้กฎหมาย การศึกษาและที่เกี่ยวข้อง

ขอขอบคุณ