การเขียนรายงานเชิงวิชาการ โดย ครูวิไล พันธุ์มา
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ คืออะไร การเขียนรายงานเชิงวิชาการ คืออะไร การเขียนที่มุ่งเสนอความรู้ ความจริง มีระบบ มีแบบแผน คือ ระบุแหล่งที่มาชัดเจน ใช้ภาษาระดับทางการ กระชับ ชัดเจน
ส่วนประกอบของรายงานเชิงวิชาการ ส่วนหน้า ส่วนเนื้อหา ส่วนท้าย
ปกนอก ใบรองปก ปกใน คำนำ สารบัญ ส่วนหน้า
ส่วนเนื้อหา บทนำ ประกอบด้วย เนื้อเรื่อง สรุป
ส่วนท้าย บรรณานุกรม ภาคผนวก ประกอบด้วย อภิธานศัพท์ ดัชนี
บรรณานุกรม เรียงตามหลักพจนานุกรม เรียงตามลำดับอักษรของชื่อผู้แต่ง เรียงภาคภาษาไทยก่อนภาษาอังกฤษ
ขั้นตอนการเขียนรายงานเชิงวิชาการ เลือกเรื่อง ตั้งชื่อเรื่อง กำหนดจุดมุ่งหมาย ขอบเขต คือ ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล วางโครงเรื่อง เรียบเรียงเขียนรายงาน
จำกัดโดยหัวข้อย่อยเพื่อเจาะลึก จำกัดโดยระยะเวลา จำกัดโดยสถานที่ ขอบเขต ของเรื่อง จำกัดโดยกลุ่มบุคคล จำกัดโดยหัวข้อย่อยเพื่อเจาะลึก
ประเภทของข้อมูล ช่องทางการรับข้อมูล จากเอกสาร จากการอ่าน ภาคสนาม จากการฟัง จากการสังเกต
มารยาทในการเขียนรายงานเชิงวิชาการ ต้องบอกถึงแหล่งที่มาของข้อมูล ไม่ลอกเลียนแบบงานของผู้อื่น ควรอ้างจากต้นฉบับ
ทดสอบหน่อยดีกว่า
๑. งานเขียนข้อใด ไม่ใช่ การเขียนเชิงวิชาการ ก. การเขียนบันทึก ข ๑. งานเขียนข้อใด ไม่ใช่ การเขียนเชิงวิชาการ ก. การเขียนบันทึก ข. รายงานการวิจัย ค. รายงานการทดลอง ง. สารคดีเชิงวิชาการ
๒. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการเขียนรายงานเชิงวิชาการ ก. วางโครงเรื่อง ข ๒. ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการเขียนรายงานเชิงวิชาการ ก. วางโครงเรื่อง ข. กำหนดจุดมุ่งหมาย ค. เลือกหัวข้อรายงาน ง. ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
๓. การกำหนดว่าจะเขียนเรื่องอะไร เขียนแนว ไหนและประเด็นใด จัดอยู่ในขั้นตอนใดของ การเขียนรายงานเชิงวิชาการ ก. วางโครงเรื่อง ข. เลือกหัวข้อรายงาน ค. กำหนดจุดมุ่งหมาย ง. ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
๔. ภาคผนวกของการเขียนรายงานเชิงวิชาการ ควรจะแสดงข้อมูลในข้อใด ก ๔. ภาคผนวกของการเขียนรายงานเชิงวิชาการ ควรจะแสดงข้อมูลในข้อใด ก. บอกลำดับเนื้อหา ข. สารบัญภาพ ค. รายละเอียดในการลำดับเนื้อหา ง. แสดงจุดประสงค์ในการเขียนรายงาน
๕. ข้อใดจัดเป็นข้อมูลทุติยภูมิ ก. ข้อมูลจากการสังเกต ข ๕. ข้อใดจัดเป็นข้อมูลทุติยภูมิ ก. ข้อมูลจากการสังเกต ข. ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ค. ข้อมูลจากการทดลอง ง. ข้อมูลจากการสัมภาษณ์วิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่น
ได้กี่ข้อจ๊ะเด็กๆ
การอ้างอิงในเนื้อหา
การอ้างอิงในเนื้อหา ๑. การใช้ อัญประกาศ ( “...........” ) เป็นการ ยกคำพูดหรือคัดลอกข้อความจากต้นฉบับของเอกสารหรือข้อเขียนของผู้อื่นมาอ้างอิงโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อความ แล้วอ้างอิงโดยใช้ระบบ นามปี
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง บุญชม ศรีสะอาด (2545 : 122) ได้อธิบายว่า หมายถึง วิธีการที่ครูจัดกลุ่มผู้เรียนกลุ่มละ 4 คน ให้มีคนเก่ง 1 คน คนอ่อน 1 คน อีก 2 คนมีความสามารถปานกลาง นักเรียน ทุกคนช่วยเหลือกันในการเรียน
การอ้างอิงในเนื้อหา ๒. เชิงอรรถอ้างอิง เป็นการบอกที่มาของข้อความที่ยกมาอ้างอิงซึ่งอยู่ในหน้าเดียวกัน โดยจะเขียนแยกจากตัวเนื้อเรื่องไว้ใต้เส้นด้านล่าง โดยมีตัวเลขกำกับ
ตัวอย่าง
การอ้างอิงในเนื้อหา ๓. เชิงอรรถเสริมความ เป็นเชิงอรรถที่อธิบายความเพิ่มเติม โดยจะเขียนคำอธิบายไว้ใต้เส้นด้านล่างเหมือนเชิงอรรถอ้างอิง โดยมีตัวเลขกำกับ
ตัวอย่าง
การอ้างอิงในเนื้อหา ๔. เชิงอรรถโยง เป็นเชิงอรรถที่อธิบายความเพิ่มเติมอย่างละเอียด โดยคำอธิบายจะอยู่คนละหน้ากับข้อความ ดังนั้นจึงต้องโยงไปหน้าอื่น โดยใช้ตัวเลขกำกับ
______________________________ ๑ ดูรายละเอียดที่ภาคผนวก ข ตัวอย่าง เชิงอรรถโยง ...ผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรมจำเป็นต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดของกระทรวงอุตสาหกรรม๑ ______________________________ ๑ ดูรายละเอียดที่ภาคผนวก ข
การอ้างอิงในบรรณานุกรม บรรณานุกรม เป็นแหล่งรวมรายชื่อหนังสือ เอกสาร แหล่งอ้างอิงทั้งหมด ซึ่งแสดงถึงความน่าเชื่อถือของรายงาน
แหล่งอ้างอิงต่างๆ มีดังนี้ ๑. หนังสือเล่ม คือหนังสือทั่วไป ที่มีชื่อผู้แต่ง ชื่อหนังสือชัดเจน ตัวอย่าง
หลักสังเกต ๑. การเขียนชื่อผู้แต่ง • ผู้แต่ง ๑ คน ให้เขียนชื่อ-สกุลผู้แต่ง แต่ไม่ต้องใส่คำนำหน้า เช่น ชนาธิป สรงกระสินธุ์.
ชนาธิป สรงกระสินธุ์ /และธีรศิลป์ แดงดา. หลักสังเกต ๑. การเขียนชื่อผู้แต่ง (ต่อ) • ผู้แต่ง ๒ คน ให้เขียนชื่อ-สกุลผู้แต่งคนแรก และชื่อคนที่ ๒ ไม่ต้องใส่คำนำหน้า เช่น หมายเหตุ / แทนการเว้นวรรค ชนาธิป สรงกระสินธุ์ /และธีรศิลป์ แดงดา.
ชนาธิป สรงกระสินธุ์, /ธีรศิลป์ แดงดา/และสารัฐ อยู่เย็น. หลักสังเกต ๑. การเขียนชื่อผู้แต่ง (ต่อ) • ผู้แต่ง ๓ คน ให้เขียนชื่อ-สกุลผู้แต่งคนแรก,/ ชื่อคนที่ ๒/และชื่อคนที่ ๓ ไม่ต้องใส่คำนำหน้า เช่น ชนาธิป สรงกระสินธุ์, /ธีรศิลป์ แดงดา/และสารัฐ อยู่เย็น.
ชนาธิป สรงกระสินธุ์ และคณะ. หลักสังเกต ๑. การเขียนชื่อผู้แต่ง (ต่อ) • ผู้แต่ง ๔ คนขึ้นไป ให้เขียนชื่อ-สกุลผู้แต่งคนแรก/และคณะ ไม่ต้องใส่คำนำหน้า เช่น ผู้แต่งคนแรก / และคณะ. ชนาธิป สรงกระสินธุ์ และคณะ.
การอ้างอิงในบรรณานุกรม (ต่อ) นิตยสารหรือวารสาร
การอ้างอิงในบรรณานุกรม (ต่อ) หนังสือพิมพ์
การอ้างอิงในบรรณานุกรม (ต่อ) กรณีไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง ให้เขียนชื่อเรื่องเป็นลำดับแรก
การอ้างอิงในบรรณานุกรม (ต่อ) อ้างอิงจากเว็บไซต์
การอ้างอิงในบรรณานุกรม (ต่อ) อ้างอิงจาก ซีดี
การเรียงลำดับแหล่งอ้างอิง ๑. เรียงตามหลักพจนานุกรม ยึดอักษร ก – ฮ ๒. เรียงชื่อผู้แต่งคนไทยก่อนต่างชาติ ๓. อ้างอิงภาษาไทยแยกจากภาษาอังกฤษ ใช้ภาษาไทยขึ้นก่อน
ตัวอย่าง
แบบทดสอบ การเขียนบรรณานุกรม ชุด ก ชุด ข ชุด ค
ทดสอบเขียนบรรณานุกรม เฉลย (๒๕๔๕). ชวนครูฮาพานักเรียนเฮ. ภาพพิมพ์. สุวิทย์ มูลคำ. กรุงเทพมหานคร : ชิต บุรทัต. สามัคคีเภทคำฉันท์. พิมพ์ครั้งที่ ๓๔. องค์การค้าของคุรุสภา. (๒๕๔๑). กรุงเทพมหานคร : พินิจวรรณาการ. แม่คำฝาง. นิยะดา เหล่าสุนทร. (๒๕๔๒). กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ครั้งที่ ๓๔.
ทดสอบเขียนบรรณานุกรม ชื่อหนังสือ ชวนครูฮาพานักเรียนเฮ ชื่อผู้แต่ง สุวิทย์ มูลคำ พิมพ์ครั้งที่ 1 ปีที่พิมพ์ 2545 โรงพิมพ์ ภาพพิมพ์ สถานที่พิมพ์ กรุงเทพมหานคร
เฉลย สุวิทย์ มูลคำ. (2545). ชวนครูฮาพานักเรียนเฮ. สุวิทย์ มูลคำ. (2545). ชวนครูฮาพานักเรียนเฮ. กรุงเทพมหานคร : ภาพพิมพ์.
ทดสอบเขียนบรรณานุกรม ชื่อหนังสือ สามัคคีเภทคำฉันท์. ชื่อผู้แต่ง ชิต บุรทัต และพิยะดา เหล่าสุนทร พิมพ์ครั้งที่ 34 ปีที่พิมพ์ 2551 โรงพิมพ์ องค์การค้าของคุรุสภา สถานที่พิมพ์ กรุงเทพมหานคร
เฉลย ชิต บุรทัต และพิยะดา เหล่าสุนทร. (2551). สามัคคีเภทคำฉันท์. พิมพ์ครั้งที่ 34. กรุงเทพมหานคร : องค์การค้าของ คุรุสภา.
ทดสอบเขียนบรรณานุกรม ชื่อเว็บไซต์ http://www.love.com ชื่อผู้แต่ง วัศยา การวี ชื่อเรื่อง วาเลนไทน์ ปีที่ลงข้อมูล 2557 วันที่ค้นข้อมูล 3 กุมภาพันธ์ 2558
เฉลย วัศยา การวี. (2557). วาเลนไทน์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : วัศยา การวี. (2557). วาเลนไทน์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.love.com. (วันที่ค้นข้อมูล : 3 กุมภาพันธ์ 2558).
ทดสอบเขียนบรรณานุกรม (๒๕๔๕). ชวนครูฮาพานักเรียนเฮ. ภาพพิมพ์. สุวิทย์ มูลคำ. กรุงเทพมหานคร : ชิต บุรทัต. สามัคคีเภทคำฉันท์. พิมพ์ครั้งที่ ๓๔. องค์การค้าของคุรุสภา. (๒๕๔๑). กรุงเทพมหานคร : เฉลย
ทดสอบเขียนบรรณานุกรม เฉลย (๒๕๔๖). อักษรเจริญทัศน์. ปรานนท์ เชียงรัตน์. กรุงเทพมหานคร : ชวนกันเรียน. วาเลนไทน์. [ออนไลน์]. http://www.love.com. วัศยา การวี. (วันที่ค้นข้อมูล : ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘). เข้าถึงได้จาก : (๒๕๕๕). การเล่นหุ้น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : (วันที่ค้นข้อมูล : ๓ สิงหาคม ๒๕๕๗). http://www.hoon.com. (๒๕๕๖). พริบพราว สกาวแสง.
เฉลยทดสอบเขียนบรรณานุกรม กลับ ชิต บุรทัต. (๒๕๔๑). สามัคคีเภทคำฉันท์. พิมพ์ครั้งที่ ๓๔. กรุงเทพมหานคร : องค์การค้าของคุรุสภา. นิยะดา เหล่าสุนทร. (๒๕๔๒). พินิจวรรณาการ. พิมพ์ครั้งที่ ๓๔. กรุงเทพมหานคร : แม่คำฝาง. สุวิทย์ มูลคำ. (๒๕๔๕). ชวนครูฮาพานักเรียนเฮ. กรุงเทพมหานคร : ภาพพิมพ์.
เฉลยทดสอบเขียนบรรณานุกรม ชิต บุรทัต. (๒๕๔๑). สามัคคีเภทคำฉันท์. พิมพ์ครั้งที่ ๓๔. กรุงเทพมหานคร : องค์การค้าของคุรุสภา. สุวิทย์ มูลคำ. (๒๕๔๕). ชวนครูฮาพานักเรียนเฮ. กรุงเทพมหานคร : ภาพพิมพ์. กลับ
ทดสอบเขียนบรรณานุกรม กลับ ปรานนท์ เชียงรัตน์. (๒๕๔๖). ชวนกันเรียน. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์. พริบพราว สกาวแสง. (๒๕๕๖). การเล่นหุ้น. [ออนไลน์]. เข้าถึง ได้จาก : http://www.hoon.com. (วันที่ค้นข้อมูล : ๓ สิงหาคม ๒๕๕๗). วัศยา การวี. (๒๕๕๕). วาเลนไทน์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.love.com. (วันที่ค้นข้อมูล : ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘).