เซลล์ของสิ่งมีชีวิต นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต UMAPORN.
Advertisements

Cell Specialization.
บทที่ 1 Signal Space and Gram-Schmidt Orthogonalization Procedure.
Translation.
Transcriptional Control
Virus.
โพรโทซัว( Protozoa ).
การลำเลียงผ่านเมมเบรน
Carbohydrates  Macromolecules  Micromolecules - sucrose - starch
Phytoplankton and Primary Production
เซลล์เชื้อเพลิง.
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
เส้นใยไผ่ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
นักเรียนเห็นอะไรบ้างค่ะ?
RNA (Ribonuclei c acid). RNA มี 3 ชนิด คือ 1.Ribosomal RNA (rRNA) ไร โบโซมอล อาร์เอ็นเอ ทำหน้าที่เป็นองค์ประกอบหลัก ของ ribosome 2.Transfer RNA (tRNA)
เซลล์ (Cell).
Bacteria I By Thanut Amatayakul
ที่สหกรณ์สมควรจัดให้แก่สมาชิก
การจัดการศึกษาในโรงเรียนท้องถิ่น (การจัดการศึกษาในระบบโรงเรียน)
อุปกรณ์จับยึด และปะเก็นกันรั่ว
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวต (Chemical basic of organisms)
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
อาณาจักรโปรติสตา Kingdom Protista พิษณุ วรรณธง
อินทรียวัตถุในดิน (Soil Organic Matter).
บทที่ 4 หน่วยของสิ่งมีชีวิต.
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
สารชีวโมเลกุล (Biomolecules) ดร.ธิดา อมร.
Photosynthesis กรวรรณ งามสม.
งานปูน Cement work.
แนวทางการพิจารณาจัดประเภท ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
Biochemistry II 1st Semester 2018
ยีนและโครโมโซม.
กองทุนประกันสังคม พ.จ.อ.พิชิต ศรีทองหนา จนท.สิทธิประกันสังคม
Biochemistry II 1st Semester 2018
เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ (Cell and Cell Compositions)
นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่
บทที่ 1 อยู่ดีมีสุข.
เซลล์และองค์ประกอบสำคัญของเซลล์
อ.ธนวัฒน์ ชัยพงศ์พัชรา วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การแบ่งเซลล์และวัฏจักรของเซลล์(3)
การเลี้ยงไก่ไข่.
ความหลากหลายทางชีวภาพ
วิธีการคุ้มครองโจทก์ มาตรา 254
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
โครงสรางพื้นฐานของเซลล
การสืบพันธุ์ Reproduction.
ออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มรอบ
นิวเคลียส (Nucleus) ประกอบด้วย
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part1) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสาร ทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
Biochemistry II 2nd Semester 2018
งาน (Work) คือ การออกแรงกระท าต่อวัตถุ แล้ววัตถุ
ซิสเทมาติกส์ (Systematics)
แสง และการมองเห็น.
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับแผนการจัดการเรียนรู้
ทรัพยากรธรณี เรื่อง ดิน
การสังเคราะห์ด้วยแสง
ปฏิบัติการเรื่อง กายวิภาคไตของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
ระบบขับถ่าย (Excretion). ระบบขับถ่าย (Excretion)
Genus: Hevea Species: brasiliensis Family: Euphorbiaceae
Holy Land อาจารย์สอง Satit UP.
การตรวจวินิจฉัยชนิด และการนับเชื้อมาลาเรีย
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
Structure of Flowering Plant
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เซลล์ของสิ่งมีชีวิต นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ

เซลล์สิ่งมีชีวิต (Cells of organisms) โครงสร้างของเซลล์ โครงสร้างของเซลล์ ที่ได้จากการศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน มีดังนี้

เซลล์ (cell) ชั้นสารเคลือบเซลล์ โพรโทพลาสซึม เยื่อหุ้มเซลล์ นิวเคลียส (Cell coat) โพรโทพลาสซึม (Protoplasm) เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) ผนังเซลล์ ในเซลล์พืช, สาหร่าย, รา, แบคทีเรีย ไกลโคแคลิกซ์ ในเซลล์สัตว์ นิวเคลียส ไซโทพลาสซึม เยื่อหุ้มนิวเคลียส โครมาติน นิวคลีโอลัส นิวเคลียร์แซป ไรโบโซม เซนทริโอล ไมโครทูบูล ออร์แกเนลล์ อินคลูชัน ไม่มีเยื่อหุ้ม มีเยื่อหุ้ม ไมโครฟิลาเมนท์ อินเตอร์มีเดียท ฟิลาเมนท์ เยื่อยูนิตชั้นเดียว เยื่อยูนิต 2 ชั้น เอนโดพลาสมิก เรติคูลัม กอลจิบอดี แวคิวโอล เพอรอกซิโซม ชนิดขรุขระ =RER ชนิดเรียบ = SER ไมโทคอนเดรีย คลอโรพลาสต์

ชั้นสารเคลือบเซลล์ (Cell Coat) 1. ผนังเซลล์ (Cell wall) ผนังเซลล์พบในเซลล์พืช สาหร่าย แบคทีเรีย เห็ด รา ยีสต์ แต่ไม่พบในเซลล์สัตว์  เป็นชั้นที่มีความแข็งแรง ทนทาน ช่วยให้เซลล์ ทรงรูปอยู่ได้  ประกอบขึ้นจากเซลลูโลส (Cellulose) เป็นสำคัญ สำหรับในพืชและสาหร่าย ส่วนในแบคทีเรียและสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินขึ้นจากสารเพปทิโดไกลแคน (Peptidoglycan) (สารเชิงซ้อนของคาร์โบไฮเดรตและเพปไทด์)

มีสารชนิดอื่นๆ เป็นองค์ประกอบขึ้นกับสิ่งมีชีวิต เช่น 1. ในไดอะตอม จะมีซิลิกา (Silica) 2. ในเห็ด รา จะมีไคติน (Chitin) 3. ในพืชจะมีพวกลิกนิน (Lignin) และเพคติน (Pectin) เป็นต้น โดยในเซล์พืชนั้น เซลลลูโลส เปรียบเสมือน โครงเหล็ก ส่วนลิกนินและ เพคติน เปรียบเสมือน คอนกรีตล้อมรอบโครงเหล็ก ผนังเซลล์ของแบคทีเรีย ซึ่งประกอบด้วยสารเพปทิโดไกลแคน โดยไม่มีเซลลูโลสแต่อย่างใด

โครงสร้างของเซลล์แบคทีเรีย Cell membrane, 10 nm thick Chromsome, about 106 nm in tengh Free ribosome Cell wall, 10 nm thick Free enzyme Capsule 800 nm Poly ribosomes 2000 nm Mesosome โครงสร้างของเซลล์แบคทีเรีย

แผนภาพแสดงผนังเซลล์ของแบคทีเรียซึ่งเป็นสารเพปทิโดไกลแคน โดยผนังเซลล์ของแบคทีเรียแกรมบวก (Gram-positive cell wall) จะไม่มีชั้นไขมันอยู่ด้านนอก แต่ผนังเซลล์ของแบคทีเรียแกรมลบ มีชั้นไขมันอยู่ด้านนอก

2. ไกลโคแคลิกซ์ (Glycocalyx)  ชั้นที่อ่อนนุ่ม  พบในเซลล์สัตว์  ประกอบขึ้นจากสารพวกโปรตีนและคาร์โบไฮเดรต จึงเรียกไกลโคโปรตีน (Glycoprotein)  ทำหน้าที่รับรู้ระหว่างเซลล์ข้างเคียง (Recognition) ถ้าสูญเสียการรับรู้ระหว่างเซลล์ข้างเคียงจะทำให้เซลล์แบ่งตัวไม่หยุดยั้ง ทำให้เกิดเนื้องอกและเป็นมะเร็งในที่สุด