Public Health Nursing/Community Health Nursing

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุป assignment ที่ 1 มีทั้งหมด สอง file เป็น slide ประกอบเสียงเปิด เสียงฟังดังๆ จะเปลี่ยนรูปเอง โดยอัตโนมัติค่ะ.
Advertisements

Development Communication Theory
Demand in Health Sector
Quality Improvement Track
Patiphak Namahoot Dip. Thai Board of Family Medicine Director of Chumsaeng Hospital.
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แนวคิดและรูปแบบการฟื้นฟูผู้ป่วยจิตเวช แบบการฟื้นคืนสู่สุขภาวะ สุชาดา สาครเสถียร BSc (PT), MOT. ที่ปรึกษาโรงพยาบาลศรีธัญญา.
Gaps of Thai Elderly Health Care Services: Promotion, Prevention, & Delaying Dependency ช่องว่างบริการสุขภาพผู้สูงอายุไทย : ส่งเสริม ป้องกัน ชะลอภาวะพึ่งพิง.
Family assessment and Home health care
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การประชุมผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม
บทบาท Peer กับการคือสู่สุขภาวะ
โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ.
การบริการงานอาชีวเวช ภายนอกโรงพยาบาล
ประเด็น แหล่งทุน โครงการวิจัย ระบบการดูแลผู้สูงอายุ วช.
ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่
ทิศทางการ ดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
แพทย์หญิง ฐนิตา สมตน เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี
ระบบบัญชาการเหตุการณ์และ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
แนวคิดพื้นฐานทางระบาดวิทยา
Risk Management System
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และการป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
การจัดบริการอาชีวอนามัย สำหรับแรงงานสูงวัย
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
การส่งเสริมสุขภาพกายและโภชนาการ
Health Promotion & Environmental Health
Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
การประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพ Health Needs Assessment - HNA
จากนโยบายสู่การปฏิบัติ From Policy to Practice (P2P)
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
นายวุฒิศักดิ์ รักเดช นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ 8 มีนาคม2559
แผนงาน/โครงการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
การเชื่อมภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อน
๑. หลักการบริหารงานทั่วไปและการบริหารทางการพยาบาล
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
สู่สุขภาพและคุณภาพชีวิต
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
ก้าวสู่ปีที่ 10 จาก การรณรงค์ป้องกันการติดเชื้อรายใหม่ในกลุ่มMSM สู่การ ยอมรับ เข้าใจ ไม่มีการติดเชื้อใหม่ใน MSM/TG ดนัย ลินจงรัตน์ ผู้อำนวยการสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย.
NUR4238 ประเด็นและการพัฒนาวิชาชีพการพยาบาล
Health Promotion Concept-Theory-Strategy Model
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
พัฒนาการทางการพยาบาล มโนทัศน์หลักและทฤษฎีทางการพยาบาล
ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
นโยบายและทิศทางการส่งเสริมสุขภาพในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
แนวทางเก็บตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2562
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
บทที่ 1 ผลิตภัณฑ์บริการ
Evaluation and Development of Information System for Risk groups for Diabetes in Health Region 4 การประเมินและพัฒนาระบบข้อมูลกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานในพื้นที่เขตสุขภาพที่
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
ภาควิชาทันตกรรมทั่วไปขั้นสูง
การส่งเสริมสุขภาพกาย
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Public Health Nursing/Community Health Nursing การพยาบาลอนามัยชุมชน พยาบาลชุมชนก้าวหน้า สุขภาวะชุมชนก้าวไกล https://www.youtube.com/watch?v=oy1CAMObRzc Kanit Ngowsiri, Ph.D. Aug 24, 2018

Objective (วัตถุประสงค์) 1. บอกความหมาย แนวคิดของการพยาบาล อนามัยชุมชนได้ 2. บอกบทบาทหน้าที่ ของพยาบาลอนามัยชุมชนได้ 3. บอกคุณสมบัติและคุณลักษณะของพยาบาล อนามัยชุมชนได้

Public health nursing is the practice of promoting and protecting the health of populations using knowledge from nursing, social, and public health sciences. (American Public Health Association APHA, 2013) พยาบาลอนามัยชุมขน เป็นการพยาบาลนอกสถานบริการ แก่ บุคคล ครอบครัว กลุ่มคนและชุมชน โดยผสมผสานศาสตร์ ทางการพยาบาล สังคม สาธารณสุข โดยใช้ชุมชน เป็นฐาน (วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัยและจริยาวัตร คมพยัคฆ์, 2554) การดูแลประชาชนทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว กลุ่มคน และชุมชน แบบองค์รวมโดยผสมผสานศาสตร์ทางการพยาบาล สาธารณสุข สังคม ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาลเบื้องต้นแก่ประชาชนตามความสอดคล้อง กับบริบทของกลุ่ม / พื้นที่

Holistic Health Care (การดูแลสุขภาพองค์รวม) การดูแลสุขภาพที่ครบองค์ประกอบ 4 มิติ ร่างกาย จิตใจ สังคม และ จิตวิญญาณ การดูแลสุขภาพครอบคลุม 4 ด้าน สร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพ complete physical, mental and social well-being, and not merely the absence of disease"

Science and Art  promoting health  education of the individual in personal health  disease prevention  control of communicable infections  sanitation of the environment  early diagnosis  medical and nursing services   prolonging life, well-being   standard of living  maintenance/improvement of health Population / Total system not only patient Community effort

บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลนามัยชุมชน หน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน (สภาการพยาบาล) บริการ : บุคคล ครอบครัว ชุมชน แบบผสมผสาน ครบ 4 มิติ กลุ่มปกติ เสี่ยง ป่วย อย่างต่อเนื่อง ใช้แนวคิด ทฤษฎีทางการพยาบาล บริหาร : ประสานความร่วมมือ วางแผน ทรัพยากร ดำเนินงาน วิชาการ : เผยแพร่ความรู้ ศึกษาข้อมูล วิจัย

Nursing Process (กระบวนการพยาบาล)

การสร้างเสริมสุขภาพ (Health Promotion) สนับสนุนประขาชนให้มีความรู้ รอบรู้ด้านสุขภาพ มีทัศนคติ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้กับทุก กลุ่มพื้นที่ ผลักดันให้เกิดนโยบายด้านสุขภาพ กิจกรรมสร้าง เสริมสุขภาพ ร่วมมือกับชุมชนในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ ให้ความรู้ คำแนะนำปรึกษา และ สนับสนุนวิชาการ ให้บริการสร้างเสริมสุขภาพ ANC WBC FP PP

การป้องกัน ควบคุมโรค (และภัยสุขภาพ/อุบัติเหตุ ) 1° prevention : prevent disease or injury before it ever occurs (ลดโรค) 2 ° prevention : reduce the impact of a disease or injury (ลดความรุนแรง) 3 ° prevention  : soften the impact of an ongoing illness or injury (ลดตาย/พิการ)  ให้วัคซีนป้องกันโรคกับกลุ่มอายุต่างๆ ให้ความรู้ คำแนะนำปรึกษา การปฏิบัติตัว ร่วมมือกับชุมชนในการควบคุมดูแลสุขาภิบาล (อาหาร น้ำดื่ม น้ำใช้ น้ำเสีย ขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลในชุมชน ค้นหาและวินิจฉัยโรคตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ฟื้นฟูสภาพผู้พิการ อัมพฤกษ์ อัมพาต

การป้องกันระดับปฐมภูมิ (Primary Prevention) : กำจัดที่จุดตั้งต้นที่เป็นสาเหตุของโรค ตั้งแต่ยังไม่เกิดโรค จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ลดลงกว่าเดิม(หรือลดอุบัติการณ์) เช่น การให้ วัคซีนเด็กที่ยังไม่ป่วยทำให้มีภูมิคุ้มกันโรค อัตราป่วยด้วยโรคลดลง การออกกฎหมาย/มาตรการ การให้สุขศึกษา (พฤติกรรม สิ่งแวดล้อม)   การป้องกันโรคระดับทุติยภูมิ (Secondary Prevention) : ตรวจวินิจฉัยโรคตั้งแต่ในระยะเกิดโรคแล้วแต่ยังไม่มีอาการ เพื่อให้การรักษา ก่อนที่การดำเนินโรคจะถึงขั้นรุนแรง เช่น การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (Pap Smear) –พบและให้การรักษาผู้ป่วยตั้งแต่โรคยังไม่รุนแรงหรือมี ภาวะแทรกซ้อน ทำให้ผู้ป่วยหายจากโรคมากขึ้น)และลดผลของโรค การป้องกันระดับตติยภูมิ (Tertiary Prevention) : เป็นการรักษาและฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย (ร่างกาย จิตใจ สังคม) -ลดภาวะแทรกซ้อน ความพิการ การเสียชีวิตที่เกิดจากโรค

การรักษาพยาบาลเบื้องต้น ตรวจคัดกรองโรคเพื่อการวินิจฉัยและรักษาตั้งแต่เริ่มแรก รักษาโรค ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ส่งต่อผู้ป่วยและให้การดูแล ผู้ป่วยต่อเนื่องที่บ้าน สนับสนุนให้ผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย ประสานความร่วมมือกับสหวิชาชีพ ให้ความรู้ คำแนะนำปรึกษาแก่ผู้ป่วย ญาติ และประสานกับ หน่วยงานต่างๆ การฟื้นฟูสภาพ ค้นหาวิธีการให้ผู้ป่วยได้รับการฟื้นฟูสภาพที่เหมาะสม  ให้ความรู้ คำแนะนำ และฝึกปฏิบัติทักษะที่จำเป็นแก่ ผู้ป่วยและผู้ดูแล  ประเมินติดตามความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง

บทบาทของพยาบาลนามัยชุมชน  Advocacy : ผลักดัน สนับสนุน พิทักษ์สิทธิ/ผลประโยชน์  Building Capacity : สร้างศักยภาพให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน  Building Networks : สร้างเครือข่าย  Care/Counseling : ให้บริการและการปรึกษาด้านสุขภาพ  Case Management : จัดการด้านการดูแลสุขภาพผู้ป่วย/ชุมชน  Communication : ติดต่อสื่อสาร กับบุคคล หน่วยงาน  Community Development : ช่วยพัฒนาชุมขน  Consultation : เป็นที่ปรึกษา  Facilitation : ผู้อำนวยความสะดวก  Health care provider : ผู้ให้บริการ

บทบาทของพยาบาลนามัยชุมชน  Health Educator: ให้ความรู้ ด้านสุขภาพ  Leadership: ผู้นำ ชี้นำด้านสุขภาพ  Policy Development and Implementation : พัฒนโยบาย และนำสู่การปฏิบัติ  Referral and Follow-Up : ส่งต่อและติดตามดูแลผู้ป่วย  Research and Evaluation : วิจัยและประเมินผล  Resource Management, Planning, Coordination : วางแผนและจัดการทรัพยากร และประสานงาน  Screening: คัดกรองโรค Surveillance: สอบสวนโรค  Team Building : สร้างทีมงาน

คุณสมบัติของพยาบาลอนามัยชุมชน  Knowledge : ความรู้ (เฉพาะด้าน : เวชปฏิบัติ เฉพาะ โรค ดูแลระยะสุดท้าย)  Communication : ทักษะการสื่อสาร  Coordination : ทักษะการติดต่อประสานงาน  Planning : การวางแผน  Negotation : ทักษะการเจรจาต่อรอง  Empowerment : ทักษะการเสริมพลัง  Team participation : การทำงานเป็นทีม

QUESTION ?

- การป้องกันโรคระคับปฐมภูมิ (Primary prevention) - การส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความสุข ข้อใดมีความสำคัญน้อยที่สุด (มีสุขภาพแข็งแรง, มีความรู้ และการศึกษา, มีอาชีพ และมีรายได้, มีพวกพ้อง เพื่อนฝูง) - Holistic Health Care หมายถึง (บุคคล ครอบครัว ชุมชน, ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู, กาย จิต สังคม จิตวิญญาณ, ดูแลกลุ่มปกติ เสี่ยง ป่วย) - ลักษณะสำคัญงานพยาบาลอนามัยชุมชนที่ต่างจากพยาบาลสาขาอื่น (ดูแลแบบองค์รวม, ร่วมกับสหสาขา, ใช้กระบวนการพยาบาล, ให้การส่งเสริมป้องกันโรคมากกว่ารักษาพยาบาล) - การป้องกันโรคระคับปฐมภูมิ (Primary prevention) (ผู้ป่วยโรคไตกินอาหารจืด, แนะนำผู้สูงอายุไปฉัดวัคซีนไข้หวัดใหญ่, ผู้ป่วยเบาหวานฉีดอินซูลิน พี่เลี้ยงศูนย์ฯ ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก) - การป้องกันโรคระคับทุติยภูมิ (Secondary prevention) (อบรม อสม.ดูแลผู้ป่วยติดเตียง, รณรงค์ป้องกันไข้เลือดออก, คัดกรองมะเร็งเต้านม, สอนญาติพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยติดเตียงทุก 2 ชม.) - จัดโครงการ “ออกกำลังกายวันละนิด จิตแจ่มใส” ให้พนักงานโรงงาน (การฟื้นฟูสภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ การรักษาโรคเบื้องต้น การควบคุมป้องกันโรค) - ข้อใดเป็นการควบคุมป้องกันโรคและภัยสุขภาพ (อบรมแกนนำ นร.เรื่องปฐมพยาบาล อบรมผู้นำออกกำลังกายให้ไปนำในชุมชน รณรงค์ยาฝังคุมกำเนิด รณรงค์สวมหมวกนิรภัย) - ข้อใดเป็นบทบาทด้านการบริหาร (อบรมต้านยาเสพติด ทำป้ายประชาสัมพันธ์แยกขยะ เดินรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลาย ขอสนับสนุนงบเทศบาลมาจัดอบรม อสม.) การเยี่ยมผู้ป่วยติดเตียงที่บ้าน และเปลี่ยนสาย NG tube ที่หลุดออกมา การแนะนำผู้พิการเรื่องการติดต่อขอทำบัตรผู้พิการ ( Leader, Counselor, Advocate, Health care provider)