การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างกิจการใหม่ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา yalada
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบการ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา yalada
ความหมายของผู้ประกอบการ ผู้ทำการวิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อม ระบุถึงโอกาสทางธุรกิจ ปรับเปลี่ยนโอกาสไปสู่ธุรกิจและบริหารจัดการธุรกิจนั้น (Arnulfo F. Itap) ผู้ริเริ่มและยินดีที่จะรับความเสี่ยง และใช้สติ ปัญญา ความสามารถ ประสบการณ์ และวิทยาการด้านการผลิต และการจัดการที่เหมาะสม เพื่อจัดการให้เกิดการผลิตสินค้า หรือการจำหน่าย หรือการให้บริการ (อาทิตย์ วุฒิคะโร) ผู้มองเห็นโอกาสและช่องทางต่างๆ แล้วลงมือสร้างธุรกิจของตนเองขึ้นอย่างสร้างสรรค์ (วิฑูรย์ สิมะโชคดี) ผู้ลงทุนจัดตั้งธุรกิจขึ้นเพื่อแสวงหากำไร โดยยอมรับความเสี่ยงที่จะขาดทุน ดำเนินการและควบคุมการทำธุรกิจด้วยตนเอง yalada
ภาพรวมของการสร้างผู้ประกอบการ การเป็นผู้ประกอบการ ธุรกิจขนาดกลาง – ย่อมที่สามารถแข่งขันได้ การสร้างผู้ประกอบการ -พัฒนาผู้ประกอบการใหม่ -พัฒนาผู้ประกอบการเดิม ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจสังคม สังคมแห่งการประกอบการ วัฒนธรรมแห่งการประกอบการ SMEs 99.41% ของจำนวนวิสาหกิจทั้งหมดของไทย* No entrepreneur No development ผู้ประกอบการ 76% ของการจ้างงานทั้งระบบ* ที่มา: สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, สถานการณ์ SMEs ไทย ไตรมาส 2/2551: เศรษฐทัศน์ SMEs รายสาขา ปี 2551 yalada
ความหมายของธุรกิจ Business คำว่า “ธุรกิจ” มีความหมายกว้างขวางมากและมีผู้ให้ความหมายไว้อย่างน่าสนใจดังนี้ ธุรกิจ หมายถึง กิจกรรมใดๆทำให้เกิดมีสินค้าหรือบริการ ขึ้น แล้วมีการแลกเปลี่ยนซื้อขายกันและมีวัตถุประสงค์จะได้รับ ประโยชน์จากการกระทำกิจกรรมขึ้น(ทับทิม วงศ์ประยูรและคณะ.) ธุรกิจ หมายถึง กิจกรรมทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องของมนุษย์ที่ เกี่ยวข้องกับการผลิต การแลกเปลี่ยนซื้อขายซึ่งสินค้าและบริการ โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะแสวงหากำไรจากการประกอบธุรกิจนั้นๆ (สมคิด บางโม.2541:13) yalada
Economy Activity Process of Business Distribution Product Production Distribution Product Goods and Service yalada
วัตถุประสงค์ของธุรกิจ Business by Objective การประกอบธุรกิจจะต้องมีการลงทุน Capital Entrepreneur : ซึ่งหมายถึง การเสียโอกาสจากการนำเงินทุนจำนวนนั้นไปใช้ประโยชน์ใน ด้านอื่น ๆ ดังนั้นสิ่งที่เสียไปอาจถูกชดเชยด้วยสิ่งที่ธุรกิจต้องการ วัตถุประสงค์ของธุรกิจประกอบด้วย กำไรจากการดำเนินงาน Margin profit operations ความอยู่รอดของกิจการ โดยใช้หลัก CRM=Customer Relationship Management(การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า) ความเติบโต Growth ความรับผิดชอบต่อสังคม Social Responsibity yalada
ประเภทของธุรกิจ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท การประกอบธุรกิจในปัจจุบันมีมากมายหลายรูปแบบ ทั้งธุรกิจขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ขึ้นอยู่กับเงินทุนของผู้ประกอบการนั้นๆ ธุรกิจอุตสาหกรรม ได้แก่ การประกอบธุรกิจที่มุ่งผลิตแปรรูปและหล่อหลอมวัตถุดิบให้เป็นสินค้าต่างๆ อาจเป็นสินค้าสำเร็จรูป สินค้าวัตถุดิบเพื่อการผลิต หรือสินค้ากึ่งสำเร็จรูป ซึ่งอาจแยกประเภทย่อยได้อีกมากมายฯลฯ ธุรกิจการค้า ได้แก่ การประกอบธุรกิจเกี่ยวกับการนำสินค้าจากแหล่งผลิตมาจำหน่ายให้แก่ผู้บริโภค หรือซื้อมาขายไป การเปิดร้านขายสินค้าต่างๆ ตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่เป็นห้างสรรพสินค้า อาจกระทำได้ในรูปการค้าส่ง การค้าปลีก หรือการค้าระหว่างประเทศ Inter Business ธุรกิจการบริการ ได้แก่ การเสนอขายบริการในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้ความสะดวกสบาย ความปลอดภัยหรือความสนุกสนานบันเทิงแก่ลูกค้า โดยเรียกค่าบริการเป็นค่าตอบแทน เช่น การขนส่ง การธนาคาร การประกันภัย การแพทย์ การโรงแรม การท่องเที่ยว เป็นต้น yalada
ภาพแสดงประเภทของธุรกิจ ผลิตสินค้า ธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจ Business ซื้อมาขายไป ธุรกิจการค้า ขายงานบริการไป ธุรกิจบริการ ภาพแสดงประเภทของธุรกิจ yalada
ความหมายของธุรกิจเอสเอ็มอี คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติเหตุสหรัฐอเมริกา (The Committee for Economic Development - CED) ให้ความหมายว่า จะต้องมีลักษณะอย่างน้อย 2 ประการ จาก 4 ประการต่อไปนี้ 1. การบริหารงานเป็นอิสระ เจ้าของเป็นผู้บริหารเอง 2. บุคคลเพียงคนเดียว หรือกลุ่มบุคคลเพียงไม่กี่คน เป็นผู้จัดหาเงินทุน และเป็นเจ้าของธุรกิจ 3. ขอบเขตของการดำเนินงานอยู่ในท้องถิ่นเป็นส่วนมากพนักงานและเจ้าของอาศัยอยู่ในขุมชนเดียวกัน แต่ตลาดของสินค้าหรือบริการไม่จำเป็นต้องอยู่ในท้องถิ่นนั้นก็ได้ 4. มีขนาดเล็กเมื่อเปรียบเทียบกับธุรกิจขนาดใหญ่ในกลุ่มธุรกิจประเภทเดียวกัน
สมาคมบริหารธุรกิจขนาดย่อมในประเทศ USA พิจารณาจำนวนยอดขาย หรือจำนวนพนักงานเป็นเกณฑ์ ดังนี้ ค้าปลีกและให้บริการ มียอดขายไม่เกิน3.5ล้านเหรียญสหรัฐ/ปี ค้าส่ง มีจำนวนพนักงานไม่เกิน 500 คน การผลิต มีจำนวนพนักงานไม่เกิน 500 คน ขนส่งและคลังสินค้า มียอดขายไม่เกิน 1 ล้านเหรียญสหรัฐ/ปี ก่อสร้าง มียอดขายไม่เกิน 17.5 ล้านเหรียญสหรัฐ ภายใน 3 ปี การเกษตร มียอดขายไม่เกิน 1 แสนเหรียญสหรัฐ/ปี
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กำหนดเป็นกฎกระทรวงอุตสาหกรรม 11 กันยายน 2545 ประเภทกิจการ การจ้างงาน มูลค่าสินทรัพย์ถาวร ผลิตสินค้า ไม่เกิน 50 คน ไม่เกิน 50 ล้านบาท ค้าส่ง ไม่เกิน 25 คน ค้าปลีก ไม่เกิน 15 คน ไม่เกิน 30 ล้านบาท ให้บริการ
เกณฑ์การประชุมนักบัญชีทั่วประเทศ ครั้งที่ 10/2530 เกษตรกรรม บริการ พาณิชยกรรม อุตสาหกรรม 1. ทุน (ไม่เกิน ล้านบาท) 2. รายได้(ไม่เกิน 3. สินทรัพย์รวม (ไม่เกินล้าน บ.) 4. พนักงาน(ไม่เกิน-คน) 10 50 20 ไม่กำหนด 5 100 30
เกณฑ์ของกระทรวงอุตสาหกรรม ขนาดของธุรกิจ จำนวนคนงาน (คน) ทรัพย์สินถาวร (ล้านบาท) เล็ก/ย่อม(Small) ไม่เกิน 50 ไม่เกิน 20 กลาง (Medium) 50 - 200 20 - 100 ใหญ่ (Large) มากกว่า 200 มากกว่า 100
สาเหตุความล้มเหลวของธุรกิจขนาดย่อม ธุรกิจอยู่ในภาวะตกต่ำ ขาดประสิทธิภาพในการบริหาร ขาดแคลนเงินทุน มีหนี้สูญเป็นจำนวนมาก มีคู่แข่งขันที่แข็งแกร่ง ค่าของสินทรัพย์ของกิจการตกต่ำ ทำเลที่ตั้งไม่ดี ดอกเบี้ยเงินกู้สูงเกินควร ไม่ต้องการเปลี่ยนไปทำธุรกิจอื่นเมื่อธุรกิจตกต่ำ
คุณลักษณะของผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จ กล้าเสี่ยง เรียนรู้จากประสบการณ์ มุ่งมั่น ผูกพันต่อเป้าหมาย กระตือรือร้น มีชีวิตชีวา สามารถโน้มน้าวจิตใจผู้อื่น มานะ และทำงานหนัก yalada
คุณลักษณะของผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จ มีความรับผิดชอบ เชื่อมั่นในตัวเอง สามารถปรับสภาพแวดล้อม มีความคิดสร้างสรรค์ สนใจแสวงหาความรู้เพิ่มเติม มีความสามรถในการบริหาร yalada
คุณลักษณะของผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จ กล้าตัดสินใจ รับผิดชอบต่อสังคม คิดและวิเคราะห์แผนธุรกิจ ประหยัดเพื่ออนาคต สร้างพันธมิตร ซื่อสัตย์ yalada
ธุรกิจแฟรนไชส์ แฟรนไชส์ คืออะไร???
Franchise คืออะไร มาจากภาษาฝรั่งเศส ที่เขียนว่า FRANCHIR แปลว่า สิทธิพิเศษ เกิดขึ้นครั้งแรกที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ 50 ปีที่ผ่านมา (www.franchise vision.com) เกิดขึ้นในประเทศไทยตั้งแต่ปี 2526
FRANCHISOR FRANCHISEE 2 FRANCHISEE 3
แฟรนไชส์ (Franchise) คืออะไร??? ระบบการทำธุรกิจโดยความร่วมมือกันระหว่างบุคคล 2 ฝ่าย คือ ผู้ให้สิทธิทางการค้า หรือแฟรนไชส์ซอร์ (Franchisor) ผู้รับสิทธิทางการค้า หรือแฟรนไชส์ซี่ (Franchisee) โดยผู้รับสิทธิทางการค้าจะได้รับเครื่องหมายการค้ามาประกอบธุรกิจ แต่ต้องจ่ายเงินเป็นการแลกเปลี่ยนในการได้สิทธิ์นั้นมา
หลักการแสวงหาโอกาส คิดถึงสิ่งที่ทำได้ดีกว่าคนอื่น รู้จริง และทำแล้วมีความสุข มองหาสินค้าหรือบริการที่ลูกค้าต้องการ สังเกตการเปลี่ยนแปลงทางสังคม หาข้อมูลสม่ำเสมอ อ่านหนังสือ และรู้จักรับฟัง เรียนรู้จากประสบการณ์และข้อผิดพลาด yalada
หลักการแสวงหาโอกาส เพิ่มพูนความรู้และทักษะ เข้าร่วมองค์กรหรือสมาคม เข้าชมงานแสดงสินค้า ต้องรู้ว่าคู่แข่งทำอะไรอยู่ สอบถามผู้รู้และมีประสบการณ์ในภาคธุรกิจ รู้จักวางแผนธุรกิจ yalada
หลักในการประกอบธุรกิจให้ประสบผลสำเร็จ ขั้นที่ 1 การตัดสินใจ ขั้นที่ 2 การเลือกธุรกิจ ขั้นที่ 3 การวางแผนประกอบธุรกิจ ขั้นที่ 4 การลงมือประกอบธุรกิจ ขั้นที่ 1 การตัดสินใจ ผู้คิดจะประกอบธุรกิจจะต้องตัดสินใจให้แน่นอน โดยพิจารณาว่าตนเองเหมาะกับการประกอบธุรกิจ นั่นคือ ควรมีคุณสมบัติของการเป็นผู้ประกอบการ
ขั้นที่ 2 การเลือกธุรกิจ ขั้นที่ 2 การเลือกธุรกิจ ควรพิจารณาสิ่งต่างๆ ต่อไปนี้ ควรเป็นธุรกิจที่ตนชอบหรือเกี่ยวข้องกับสิ่งที่ตนชอบ วิเคราะห์ว่าผู้บริโภคในชุมชนต้องการสินค้าหรือบริการอะไร โอกาสดีในการประกอบธุรกิจ ไม่ควรทำธุรกิจที่อยู่ในระยะเสื่อมถอย ความชำนาญพิเศษ
คำถาม ยกตัวอย่างธุรกิจที่จัดว่าล้าสมัยและเปลี่ยนไป ยกตัวอย่างธุรกิจที่มีแนวโน้มกำลังเจริญและขยายตัว
ที่จัดอยู่ในประเภทที่ล้าสมัยและเปลี่ยนไป ตัวอย่างธุรกิจ ที่จัดอยู่ในประเภทที่ล้าสมัยและเปลี่ยนไป การซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้า ร้านค้าปลีก (ร้านขายของชำ) ร้านตัดเย็บเสื้อผ้า การผลิตนาฬิการะบบไขลาน การผลิตรถยนต์นั่งขนาดใหญ่
ตัวอย่างธุรกิจที่มีแนวโน้มกำลังเจริญและขยายตัว ผลิตหรือจำหน่ายโทรศัพท์ โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ ระบบอินเทอร์เน็ต หุ่นยนต์ อินเทอร์เน็ตคาเฟ่ ธุรกิจบันเทิง ท่องเที่ยว คลินิกสุขภาพ คลับออกกำลังกาย บริการงานบ้าน
ขั้นที่ 3 การวางแผนประกอบธุรกิจ ขั้นที่ 3 การวางแผนประกอบธุรกิจ ควรพิจารณาสิ่งต่างๆ ต่อไปนี้ เลือกรูปแบบธุรกิจ ประสบการณ์ การทดลองทำดูก่อน ต้องเน้นคุณภาพ เงินทุนหมุนเวียน
ขั้นที่ 4 การลงมือประกอบธุรกิจ ขั้นที่ 4 การลงมือประกอบธุรกิจ การเลือกทำเลที่ตั้ง การซื้อสินค้าหรือวัตถุดิบ การกู้เงินจากธนาคาร การหาแหล่งสนับสนุนทางการเงิน การแก้ปัญหาของธุรกิจ
การเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นผู้ประกอบการ แนวทางในการประกอบธุรกิจ เริ่มต้นธุรกิจใหม่ ซื้อกิจการที่ดำเนินอยู่แล้ว ธุรกิจฟรานไชส์ ธุรกิจครอบครัว yalada
การเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นผู้ประกอบการ อายุกับการประกอบธุรกิจ ช่วงต้นของอาชีพ สะสมความรู้ เพิ่มพูนประสบการณ์ สะสมเงินลงทุน ช่วงปลายของอาชีพ รับผิดชอบชีวิตครอบครัว ได้รับตำแหน่งอาวุโสในหน้าที่การงาน ได้รับผลตอบแทนการลงทุนในช่วงเกษียณอายุ 20 30 40 50 20ปลายๆ ถึง 40ต้นๆ yalada
การเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นผู้ประกอบการ เหตุการณ์พิเศษ การเตรียมตัวสำหรับการเป็นผู้ประกอบการ ประสบการณ์ การศึกษา ใช้เวลาให้น้อย เรียนรู้ให้มาก มีสิ่งที่ต้องเรียนรู้จากประสบการณ์จริงอีกเยอะ!!! yalada
ข้อแนะนำสำหรับผู้เริ่มประกอบการ รวบรวมข้อมูลด้านการตลาด เงินลงทุนและผลตอบแทน แหล่งที่มาของเงินทุน ความพร้อมของผู้ประกอบการ การตัดสินใจ yalada
จบบทที่ 1 แล้วจ้า ขอขอบคุณที่สนใจฟัง...