1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Study Design ผศ.( พิเศษ ) น. พ. นภดล สุชาติ พ. บ. M.P.H.
Advertisements

หน่วยที่ 3 แบบจำลองข้อมูล การเขียนโปรแกรมจัดการ ฐานข้อมูล อาจารย์ศราวุฒิ ศรีนนท์ วิทยาลัยเทคนิคบุรีรัมย์ แผนกวิชา คอมพิวเตอร์
บทบาทของศูนย์บริหารงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ผู้บัญชาการ และฝ่ายข้อมูลและยุทธศาสตร์
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
Report การแข่งขัน.
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
แนวทางการพัฒนา EOC กรมควบคุมโรค
ปิยดนัย ภาชนะพรรณ์, Power System Design, EE&CPE, NU
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ระบบบัญชาการเหตุการณ์และ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
Rabie Free Zone สภาพปัญหา นโยบายการขับเคลื่อน เป้าหมายดำเนินการ ปี2560
ประชุม Video Conference ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การแก้ไขปัญหาสุขภาพช่องปาก จังหวัดปทุมธานี
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสงขลา
โรคที่เป็นปัญหา ของพื้นที่
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
คณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
ณ นริศภูวิว รีสอร์ท ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระบบบัญชาการเหตุการณ์
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
โรคไข้เลือดออก เห็ดพิษ รณรงค์วัคซีนไข้หวัดใหญ่ คลีนิกวัคซีนผู้ใหญ่
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
แนวทางการทำงานของ “วิทยากรแกนนำเน็ตประชารัฐ”
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
การพัฒนาประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ/ คุณภาพการทำงาน
พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน
รายงานการประเมินตนเอง
คู่มือใช้งานระบบข้อมูลสารสนเทศอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
กลุ่มควบคุมโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ
จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์(SAT) ที่สามารถปฏิบัติการได้จริง 1.
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
ประเด็นมุ่งเน้นยุทธศาสตร์ โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
การเตรียมการ มาตรการชุมชน
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
แนวทางการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3 ประจำปี 2561
สรุปผลการตรวจราชการฯ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักการและองค์ประกอบสำคัญของ ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS Features and Principles)
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะต่อการ พัฒนาตัวชี้วัด
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558
ชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัดตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562 โดย นางปัจฉิมา บัวยอม รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่
รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
การเขียนรายงานการวิจัย
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
นางสาวอรไท แซ่จิว สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้ สถานการณ์(SAT) ที่สามารถปฏิบัติการได้จริง 1

เป้าหมายประเทศ : ร้อยละ 85 ของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายระดับจังหวัด : ทุกจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 2 มีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง

Success 5 4 3 2 1 จังหวัดเพชรบูรณ์ EOC ระดับจังหวัดซ้อมแผนหรือยกระดับเปิดภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในพื้นที่ วิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญของโรคและภัยสุขภาพ จัดทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ระดับจังหวัด จัดตั้งทีมปฏิบัติการระดับจังหวัดภารกิจปฏิบัติการ(Operation Section) ผู้บัญชาการและรองฯ ได้รับการอบรม หลักสูตร ICS สำหรับผู้บริหาร 5 4 3 2 1

สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม การดำเนินงานของจังหวัดเพชรบูรณ์ ขั้นตอน ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม 1. ผู้บัญชาการและรองฯ ได้รับการอบรม หลักสูตร ICS สำหรับผู้บริหารอย่างน้อยจังหวัดละ 2 คน (นพ.สสจ.และผชชว.) IC : มีการเปิดบัญชาการเหตุการณ์จริง (EOC ไข้เลือดออก 28 มิ.ย.61) SAT และ Operation การให้ภารกิจอื่นๆ ตามที่กำหนดไว้ในโครงสร้างEOC จังหวัด เข้ามาปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ตนเอง 2. จัดทีมปฏิบัติการระดับจังหวัดในส่วนภารกิจปฏิบัติการ (Operation Section) เพื่อปฏิบัติการในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข - คำสั่ง MERT, EMS, MCAT, CDCU การจัดตั้งทีม CDCU ตามพรบ.โรคติดต่อ2558

สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม การดำเนินงานของจังหวัดเพชรบูรณ์ ขั้นตอน ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม 3. จัดทีม SAT ระดับจังหวัด (ภาวะปกติอย่างน้อย 3 คน และภาวะฉุกเฉิน 4 คน) และ 50% ผ่านการฝึกอบรมตามแนวทาง SAT พช.0032.004/259 ลงวันที่ 19 ธ.ค.60 จำนวน 8 คน (8/0) รายชื่อเวร SAT ภาวะปกติและภาวะฉุกเฉินฯ รายเดือน คำสั่งที่ 170/2560 ลว. 22 ธ.ค.60 - SAT จังหวัดผ่านการอบรม 50% (4/8) - จัดทีมปฏิบัติงาน SA 4-5 คน/เดือน - การเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกและเสนอนพ.สสจ. พิจารณาเพื่อยกระดับ EOC ไข้เลือดออกวันที่ 28 มิ.ย.61 - การเรียนรู้ร่วมกันไม่แยกส่วนของ SAT ในด้านอื่นๆ เช่น ด้านสิ่งแวดล้อม การบาดเจ็บทางการจราจร เพื่อให้มีประสบการณ์หลากหลาย - เพิ่มบทบาทหน้าที่ของหัวหน้าทีมและสมาชิก SAT 3.1. จัดทำ Outbreak Verification list ทุกสัปดาห์ 1 ม.ค.- 4 ก.ค.61 (27 สัปดาห์) จำนวน 4 ฉบับ ยังดำเนินการไม่ครบถ้วน - - การจัดทำบันทึกสรุปรายงานนำเสนอผู้บริหาร และให้ระดับอำเภอเพื่อใช้ประโยชน์จากการเฝ้าระวังฯ - สรุปสถานการณ์เฝ้าระวังตามเกณฑ์ทุกสัปดาห์หากไม่มีรวบรวมสรุปอย่างน้อยเป็นรายเดือน (6 ฉบับ) 3.2. จัดทำ Spot Report ได้ตามเงื่อนไข CIRและเวลาที่กำหนด ร้อยละ 100 (7/7 เหตุการณ์) - การแจ้งรายงานทาง group ไลน์ ผู้บริหาร สสจ. สั่งการทางไลน์ หรือ นพ.สสจ.ติดตามกำกับด้วยตนเอง - การเขียนเนื้อหาใน spot report ได้ครบถ้วน - SAT จัดทำบันทึกข้อความนำเสนอผู้บริหาร เพื่อสั่งการ - การเขียนข้อเสนอแนะของระดับจังหวัดให้ชัดเจน เช่น มอบใคร ระดับอำเภอหรือจังหวัด ดำเนินการ เพื่อติดตามผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะ

การดำเนินงานของจังหวัดเพชรบูรณ์ สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม ขั้นตอน ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม 4. วิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญของโรคและภัยสุขภาพระดับจังหวัด -โรคไข้เลือดออก -โรคไอกรน - -การเขียนรายงานการประเมินความเสี่ยงโรคไข้เลือดออก และไอกรน เพื่อเสนอผู้บริหาร - ขยายการวิเคราะห์ความเสี่ยงโรคอื่นๆ ที่เป็นปัญหา อย่างต่อเนื่อง 5. ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ระดับจังหวัด มีการซ้อมแผน หรือมีการยกระดับเปิดปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในพื้นที่ - Activate EOC ไข้เลือดออก 28 มิ.ย.61 EOC ซิก้า ชนแดน ศรีเทพ EOC ไข้เลือดออก หนองไผ่ บึงสามพัน เมือง - มีการเขียนแผนเผชิญเหตุ (IAP) ส่งไฟล์ภายในวันที่ 16 ก.ค. 61 - มีการกำกับ ให้เปิด EOC ระดับอำเภอ โดยทีม สสจ. เป็นพี่เลี้ยง - นพ.สสจ. เป็น IC - พัฒนาการเปิด EOC และการใช้แผนเผชิญเหตุ ในระดับอำเภอ - เขียนแผนเผชิญเหตุ (IAP) เพื่อใช้กำกับ การระดมทรัพยากร ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ควบคุมโรค ไม่เกิน second generation - AAR EOC ไข้เลือดออก/ซิกา

ข้อชื่นชม ประเด็นที่ควรติดตาม ปี 2562 การกำกับให้มีการเปิด EOC ระดับอำเภอ โดยมีนายอำเภอเป็นผู้สั่งการ ประเด็นที่ควรติดตาม ปี 2562 การพัฒนาศักยภาพทีม SAT ที่กลุ่มต่างๆที่เกี่ยวข้องสามารถดำเนินการได้อย่างเป็นเอกภาพ ถอดบทเรียนการ activate EOC ระดับจังหวัด อำเภอและทีมตระหนักรู้สถานการณ์สามารถดำเนินการได้จริง