1 จังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการ (EOC) และทีมตระหนักรู้ สถานการณ์(SAT) ที่สามารถปฏิบัติการได้จริง 1
เป้าหมายประเทศ : ร้อยละ 85 ของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายระดับจังหวัด : ทุกจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 2 มีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง
Success 5 4 3 2 1 จังหวัดเพชรบูรณ์ EOC ระดับจังหวัดซ้อมแผนหรือยกระดับเปิดภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในพื้นที่ วิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญของโรคและภัยสุขภาพ จัดทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ระดับจังหวัด จัดตั้งทีมปฏิบัติการระดับจังหวัดภารกิจปฏิบัติการ(Operation Section) ผู้บัญชาการและรองฯ ได้รับการอบรม หลักสูตร ICS สำหรับผู้บริหาร 5 4 3 2 1
สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม การดำเนินงานของจังหวัดเพชรบูรณ์ ขั้นตอน ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม 1. ผู้บัญชาการและรองฯ ได้รับการอบรม หลักสูตร ICS สำหรับผู้บริหารอย่างน้อยจังหวัดละ 2 คน (นพ.สสจ.และผชชว.) IC : มีการเปิดบัญชาการเหตุการณ์จริง (EOC ไข้เลือดออก 28 มิ.ย.61) SAT และ Operation การให้ภารกิจอื่นๆ ตามที่กำหนดไว้ในโครงสร้างEOC จังหวัด เข้ามาปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ตนเอง 2. จัดทีมปฏิบัติการระดับจังหวัดในส่วนภารกิจปฏิบัติการ (Operation Section) เพื่อปฏิบัติการในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข - คำสั่ง MERT, EMS, MCAT, CDCU การจัดตั้งทีม CDCU ตามพรบ.โรคติดต่อ2558
สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม การดำเนินงานของจังหวัดเพชรบูรณ์ ขั้นตอน ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม 3. จัดทีม SAT ระดับจังหวัด (ภาวะปกติอย่างน้อย 3 คน และภาวะฉุกเฉิน 4 คน) และ 50% ผ่านการฝึกอบรมตามแนวทาง SAT พช.0032.004/259 ลงวันที่ 19 ธ.ค.60 จำนวน 8 คน (8/0) รายชื่อเวร SAT ภาวะปกติและภาวะฉุกเฉินฯ รายเดือน คำสั่งที่ 170/2560 ลว. 22 ธ.ค.60 - SAT จังหวัดผ่านการอบรม 50% (4/8) - จัดทีมปฏิบัติงาน SA 4-5 คน/เดือน - การเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกและเสนอนพ.สสจ. พิจารณาเพื่อยกระดับ EOC ไข้เลือดออกวันที่ 28 มิ.ย.61 - การเรียนรู้ร่วมกันไม่แยกส่วนของ SAT ในด้านอื่นๆ เช่น ด้านสิ่งแวดล้อม การบาดเจ็บทางการจราจร เพื่อให้มีประสบการณ์หลากหลาย - เพิ่มบทบาทหน้าที่ของหัวหน้าทีมและสมาชิก SAT 3.1. จัดทำ Outbreak Verification list ทุกสัปดาห์ 1 ม.ค.- 4 ก.ค.61 (27 สัปดาห์) จำนวน 4 ฉบับ ยังดำเนินการไม่ครบถ้วน - - การจัดทำบันทึกสรุปรายงานนำเสนอผู้บริหาร และให้ระดับอำเภอเพื่อใช้ประโยชน์จากการเฝ้าระวังฯ - สรุปสถานการณ์เฝ้าระวังตามเกณฑ์ทุกสัปดาห์หากไม่มีรวบรวมสรุปอย่างน้อยเป็นรายเดือน (6 ฉบับ) 3.2. จัดทำ Spot Report ได้ตามเงื่อนไข CIRและเวลาที่กำหนด ร้อยละ 100 (7/7 เหตุการณ์) - การแจ้งรายงานทาง group ไลน์ ผู้บริหาร สสจ. สั่งการทางไลน์ หรือ นพ.สสจ.ติดตามกำกับด้วยตนเอง - การเขียนเนื้อหาใน spot report ได้ครบถ้วน - SAT จัดทำบันทึกข้อความนำเสนอผู้บริหาร เพื่อสั่งการ - การเขียนข้อเสนอแนะของระดับจังหวัดให้ชัดเจน เช่น มอบใคร ระดับอำเภอหรือจังหวัด ดำเนินการ เพื่อติดตามผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะ
การดำเนินงานของจังหวัดเพชรบูรณ์ สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม ขั้นตอน ผลสำเร็จเชิงคุณภาพ สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม 4. วิเคราะห์ระดับความเสี่ยงสำคัญของโรคและภัยสุขภาพระดับจังหวัด -โรคไข้เลือดออก -โรคไอกรน - -การเขียนรายงานการประเมินความเสี่ยงโรคไข้เลือดออก และไอกรน เพื่อเสนอผู้บริหาร - ขยายการวิเคราะห์ความเสี่ยงโรคอื่นๆ ที่เป็นปัญหา อย่างต่อเนื่อง 5. ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) ระดับจังหวัด มีการซ้อมแผน หรือมีการยกระดับเปิดปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในพื้นที่ - Activate EOC ไข้เลือดออก 28 มิ.ย.61 EOC ซิก้า ชนแดน ศรีเทพ EOC ไข้เลือดออก หนองไผ่ บึงสามพัน เมือง - มีการเขียนแผนเผชิญเหตุ (IAP) ส่งไฟล์ภายในวันที่ 16 ก.ค. 61 - มีการกำกับ ให้เปิด EOC ระดับอำเภอ โดยทีม สสจ. เป็นพี่เลี้ยง - นพ.สสจ. เป็น IC - พัฒนาการเปิด EOC และการใช้แผนเผชิญเหตุ ในระดับอำเภอ - เขียนแผนเผชิญเหตุ (IAP) เพื่อใช้กำกับ การระดมทรัพยากร ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ควบคุมโรค ไม่เกิน second generation - AAR EOC ไข้เลือดออก/ซิกา
ข้อชื่นชม ประเด็นที่ควรติดตาม ปี 2562 การกำกับให้มีการเปิด EOC ระดับอำเภอ โดยมีนายอำเภอเป็นผู้สั่งการ ประเด็นที่ควรติดตาม ปี 2562 การพัฒนาศักยภาพทีม SAT ที่กลุ่มต่างๆที่เกี่ยวข้องสามารถดำเนินการได้อย่างเป็นเอกภาพ ถอดบทเรียนการ activate EOC ระดับจังหวัด อำเภอและทีมตระหนักรู้สถานการณ์สามารถดำเนินการได้จริง