การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในใยประสาท ประเภทการเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในใยประสาท การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในใยประสาท Core conduction Saltatory conduction การนำกระแสประสาทในใยประสาทที่ไม่มี เยื่อหุ้มไมอิลินหุ้ม การแลกเปลี่ยนอิออน Na+ และ K+ จะเกิดได้ทุกบริเวณของใยประสาท ความเร็วของกระแสประสาทประมาณ 12 เมตร/วินาที การนำกระแสประสาทในใยประสาทที่มี เยื่อหุ้มไมอิลินหุ้ม การแลกเปลี่ยนอิออน Na+ และ K+ จะเกิดเฉพาะที่ Node of Ranvier ความเร็วของกระแสประสาทประมาณ 120 เมตร/วินาที
(กระแสประสาท)
Schwann cell Depolarized region (node of Ranvier) Cell body Myelin sheath Axon
ความเร็วของระบบประสาท 2. ระยะห่างของ Nede of Ranvier ขึ้นอยู่กับ :- 1. เยื่อไมอิลิน ถ้ามี Speed of I เร็วขึ้น 2. ระยะห่างของ Nede of Ranvier ถ้าห่างจาก Speedจะเร็วขึ้น 3. ของใยประสาท ถ้า Speed จะเร็วขึ้น
ในใยประสาทที่มีเยื่อใยไมอิลิน ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วของกระแสประสาท (Conduction velocity) และเส้นผ่านศูนย์กลางของใยประสาท (Fibre diameter) ในใยประสาทที่มีเยื่อไมอิลิน (Myelinated) และใยประสาทที่ไม่มีเยื่อไมอิลิน (Unmyelinated) ในใยประสาทที่ไม่มีเยื่อใยไมอิลิน ความเร็วของกระแสประสาทจะแปรตาม ในใยประสาทที่มีเยื่อใยไมอิลิน ความเร็วของกระแสประสาทจะแปรตามเส้นผ่านศูนย์กลางของใยประสาท Myelinated Conduction velocity (m.s–1) Unmyelinated 1m Fibre diameter (m)
Acetylcholine ใน SNS และ ANS ไซแนปส์ (Synapse) การถ่ายทอด I ข้ามเซลล์ เช่น :- Neuron จาก Neuron ประเภทของไซแนปส์ Effectors 1. Electrical synapse = ไซแนปส์ไฟฟ้า อาศัยสนามไฟฟ้าระหว่าง neuron ที่อยู่ใกล้ๆ กัน 2. Chemical synapse = ไซแนปส์เคมี อาศัยสารสื่อประสาท (neurotransmitter) Acetylcholine ใน SNS และ ANS Noradrenalin ใน ANS
ไซแนปส์เคมี (Chemical synapse) ไซแนปส์เคมีเป็นไซแนปส์ที่เกิดขึ้นโดยอาศัยสื่อประสาท (Neurotransmitter) ที่หลั่งออกมาจากถุงบรรจุสื่อประสาทที่ปลายแอกซอนของเซลล์ประสาท สารสื่อประสาทมีหลายชนิด ชนิดสำคัญได้แก่ แอซิติลโคลีน (Acetylcholine) และนอร์อะดรีนาลิน (Noradrenaline)
โครงสร้างในบริเวณเกิดไซแนปส์ ในระบบประสาทของเราประมาณกันว่ามีไซแนปส์เคมีมากถึง 1014 แห่ง โครงสร้างในบริเวณเกิดไซแนปส์
อะซิติลโคลีน กรดอะซิติก โคลีน โคลีนเอสเตอเรส อะซิติลโคลีน กรดอะซิติก + โคลีน ไม่เป็นสารสื่อประสาท ถูกดูดซึมกลับสู่ปลายใยแอกซอน เพื่อสร้างกลับมาเป็นอะซิติลโคลีน ถูกนำพาไปโดยกระแสเลือดไปยังเซลล์ต้องการ ความสำคัญของไซแนปส์ 1. เป็นกลไกที่ก่อให้เกิดการถ่ายทอดกระแสประสาทข้ามเซลล์ได้ 2. เปรียบเสมือนลิ้นบังคับทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสประสาทให้เคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียว (Unidirection) ถ้าไม่มีไซแนปส์ กระแสประสาทอาจเคลื่อนสวนทิศได้