อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง บัญชีรายชื่อวัตถุอันตราย (ฉบับที่ 2) พ
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
สีกับสิ่งทอ Sir william H.perkin ค้นพบสีสังเคราะห์ชนิดแรกเป็นสีเบสิกคือ mauve สารที่มีสีมี 2 ประเภทคือ พิกเมนท์(pigment)และสี(dye) พิกเมนท์เป็นสารมีสีไม่ละลายน้ำและติดอยู่บนผ้าด้วยสารช่วยติด.
การดุลสมการรีดอกซ์ Al(s) + CuCl2 (aq) AlCl3(aq) + Cu(s)
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
ชื่อ นาย ศุภสุข โตฟาเละ รหัส 00352
Entity-Relationship Model E-R Model
นักโภชนาการน้อย.
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ประชาคมอาเซียน.
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
โครเมี่ยม (Cr).
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
การออกแบบและเทคโนโลยี
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
Carbohydrate and Polynucleotide
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
เคมีในอาหาร 1.
BIOCHEMISTRY I CARBOHYDRATE.
บทที่ 3 คาร์โบไฮเดรต.
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
BIOCHEMISTRY I CARBOHYDRATE II.
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
การเสริมไวตามิน อี ในสูตรอาหารสุกร
องค์ประกอบพื้นฐานหรือหน่วยย่อย (monomer) ของโปรตีน
การรักษาดุลภาพของเซลล์
วิชา ECE 1406 อาหารและโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry) บทที่ 10 สารชีวโมเลกุล (Biomolecules)
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
ชั่วโมงที่ 32–33 สมบัติบางประการ ของคาร์โบไฮเดรต
Chemistry Introduction
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
พลังงานในสิ่งมีชีวิต
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แบ่งเป็น 4 เรื่อง
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
CARBOHYDRATE METABOLISM
กรดนิวคลีอิก(nucleic acid)
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
ประเทศบรูไน จัดทำโดย ด.ญ.ธัชพรรณ วรรณภิละ ม.2/8 เลขที่ 11
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
ชีวโมเลกุล.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
เคมีอุตสาหกรรม พอลิเมอร์และผลิตภัณฑ์ของใช้ในชีวิตประจำวัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์ คาร์โบไฮเดรต อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์

สารชีวโมเลกุล สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ สารชีวโมเลกุล (Biomolecule) เป็นสารอินทรีย์ที่สิ่งมีชีวิตนำไปใช้ใน กระบวนการดำรงชีวิต จำแนกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1. คาร์โบไฮเดรต 2. โปรตีน 3. ลิพิด 4. กรดนิวคลีอิก

คาร์โบไฮเดรต ธาตุองค์ประกอบหลัก ได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ ธาตุองค์ประกอบหลัก ได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ทำหน้าที่เป็นสารสะสมพลังงานสำหรับสิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิด ได้แก่ น้ำตาล แป้ง เซลลูโลส และไกลโคเจน แป้ง และเซลลูโลส พบในพืช ไกลโคเจน พบในตับและกล้ามเนื้อของสัตว์ แป้ง เซลลูโลส และไกลโคเจน เกิดจากกลูโคสหลายโมเลกุลมา รวมตัวกันเป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่

คาร์โบไฮเดรต ประเภทของคาร์โบไฮเดรต 1. มอนอแซ็กคาไรด์ (Monosaccharide) สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ ประเภทของคาร์โบไฮเดรต 1. มอนอแซ็กคาไรด์ (Monosaccharide) 2. ไดแซ็กคาไรด์ (Disaccharide) 3. พอลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharide)

Monosaccharide ประกอบด้วยคาร์บอน 3 ถึง 8 อะตอม สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ ประกอบด้วยคาร์บอน 3 ถึง 8 อะตอม จำแนกตามจำนวนคาร์บอนที่เป็นองค์ประกอบได้ เช่น ไตรโอส (Triose) เทโทรส (Tetrose) เพนโทส (Pentose) เฮกโซส (Hexose) Pentose และ Hexose พบมากในธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่

Monosaccharide สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ Pentose ที่พบมาก ได้แก่ ไรโบส และ ไรบูโรส มีโครงสร้างดังนี้

Monosaccharide Hexose ที่พบมาก ได้แก่ กลูโคส ฟรักโทส และ กาแลกโทส สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ Hexose ที่พบมาก ได้แก่ กลูโคส ฟรักโทส และ กาแลกโทส

Monosaccharide แบ่งตามหมู่ฟังก์ชัน ได้เป็น 2 ชนิด คือ สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ แบ่งตามหมู่ฟังก์ชัน ได้เป็น 2 ชนิด คือ 1. แอลโดส (Aldose) มีหมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์ ได้แก่ กลูโคส กาแลกโทส ไรโบส 2. คีโตส (Ketose) มีหมู่คาร์บอนิล ได้แก่ ฟรักโตส และ ไรบูโรส

Monosaccharide สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ น้ำตาล Aldose

Monosaccharide สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ น้ำตาล Ketose

Monosaccharide สารอินทรีย์ที่มีสูตรเป็น มีสมบัติเป็นตัวรีดิวซ์ สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ สารอินทรีย์ที่มีสูตรเป็น มีสมบัติเป็นตัวรีดิวซ์ เรียกว่า เป็นน้ำตาลรีดิวซ์ (reducing sugar) สามารถรีดิวซ์คอปเปอร์(II)ไอออน ในสารละลายเบเนดิกต์ เป็น คอปเปอร์(I)ออกไซด์ ซึ่งเป็นตะกอนสีแดงอิฐ ไรโบส ไรบูโรส กลูโคส ฟรักโทส กาแลกโทสสามารถทดสอบได้ด้วยสารละลายเบเนดิกต์

Monosaccharide สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ

Monosaccharide ในธรรมชาติพบว่ามอนอแซ็กคาไรด์ส่วนใหญ่มีโครงสร้างเป็นวง สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ ในธรรมชาติพบว่ามอนอแซ็กคาไรด์ส่วนใหญ่มีโครงสร้างเป็นวง โครงสร้างแบบวงเป็นโครงสร้างที่เสถียรกว่าโครงสร้างแบบโซ่เปิด การเปลี่ยนโครงสร้างแบบโซ่เปิดเป็นแบบวงเกิดจากปฏิกิริยา O ระหว่างหมู่ (-C-)  กับหมู่ -OH ในโมเลกุลเดียวกัน ||

Monosaccharide ตัวอย่างการเกิดโครงสร้างแบบวงของกลูโคส สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ ตัวอย่างการเกิดโครงสร้างแบบวงของกลูโคส

Monosaccharide ตัวอย่างการเกิดโครงสร้างแบบวงของฟรักโทส สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ ตัวอย่างการเกิดโครงสร้างแบบวงของฟรักโทส

Disaccharide เกิดจากการรวมตัวของมอนอแซ็กคาไรด์ 2 โมเลกุล สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ เกิดจากการรวมตัวของมอนอแซ็กคาไรด์ 2 โมเลกุล ตัวอย่างเช่น ซูโครส เกิดจากกลูโคส รวมตัวกับ ฟรักโทสอย่างละ 1 โมเลกุล โดยมีพันธะไกลโคซิติก เชื่อมต่อระหว่าง 2 โมเลกุล

Disaccharide มอลโทส เกิดจากการรวมกันของกลูโคส 2 โมเลกุล สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ มอลโทส เกิดจากการรวมกันของกลูโคส 2 โมเลกุล พบได้ในข้าวมอลท์ หรือได้จากกระบวนการย่อยแป้ง ไกลโคเจน

Disaccharide แลกโทส เกิดจากการรวมกันของกลูโคส และกาแลกโทส สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ แลกโทส เกิดจากการรวมกันของกลูโคส และกาแลกโทส พบได้ในน้ำนมสัตว์

Polysaccharide สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ เป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ที่ประกอบด้วยมอนอแซ็กคาไรด์หลายๆ โมเลกุลเชื่อมต่อกัน พอลิแซ็กคาไรด์ที่สำคัญต่อสิ่งมีชีวิต ได้แก่ แป้ง เซลลูโลส และไกลโคเจน

แป้ง ประกอบด้วยพอลิแซ็กคาไรด์ 2 ชนิด คือ สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ ประกอบด้วยพอลิแซ็กคาไรด์ 2 ชนิด คือ อะไมโลส ; พอลิแซ็กคาไรด์แบบโซ่ตรง อะไมโลเพกติน ; พอลิแซ็กคาไรด์แบบโซ่กิ่ง    แป้งประกอบด้วยอะไมโลส 20% และอะไมโลเพกติน 80% พืชจะสะสมกลูโคสในรูปของแป้ง ซึ่งพบแป้งมากในข้าว มันฝรั่งถั่ว และธัญพืช

แป้ง สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ

แป้ง สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ

แป้ง สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ แป้งในสภาวะที่เป็นกรดจะถูกไฮโดรไลซ์ได้ง่ายได้สารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กลงเรียกว่า เด็กซ์ตริน เมื่อถูกไฮโดรไลซ์ต่อไปจะได้มอลโทส และกลูโคส แป้งที่อยู่ในร่างกายจะถูกย่อยโดยเอนไซม์ อะไมเลส และ มอลเทส ซึ่งมีลำดับการไฮโดรไลซ์ดังนี้

เซลลูโลส สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ สำลีเป็นเซลลูโลสชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยกลูโคสจำนวนมากเชื่อมต่อกันเป็นพอลิเมอร์แบบโซ่ตรง เซลลูโลสทำหน้าที่เป็นโครงสร้างของพืช การไฮโดรไลซ์เซลลูโลสอย่างสมบูรณ์จะได้กลูโคสเป็นผลิตภัณฑ์

ไกลโคเจน สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ ไกลโคเจนซึ่งเป็นคาร์โบไฮเดรตที่สะสมอยู่ในเซลล์ของสัตว์ พบมากในตับและกล้ามเนื้อ ไกลโคเจนประกอบด้วยกลูโคสเชื่อมต่อกัน

ไคติน มีโครงสร้างคล้ายกับ Cellulose สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ มีโครงสร้างคล้ายกับ Cellulose หน่วยย่อยเป็น N-acetylglucosamine ต่อกันเป็นโมเลกุลสายยาว

สมบัติและปฏิกิริยาของคาร์โบไฮเดรต สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ

สมบัติและปฏิกิริยาของคาร์โบไฮเดรต สารชีวโมเลกุล เคมี อ.ณัฐ