๒. คำซ้ำ ๒.๑ ลักษณะของคำซ้ำ คำซ้ำ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

๒. คำซ้ำ ๒.๑ ลักษณะของคำซ้ำ คำซ้ำ คือ คำที่สร้างจากคำมูล โดยนำคำคำเดียวกันมากล่าวซ้ำ มีความหมายเปลี่ยนแปลงไป อาจเน้นหนักขึ้น เบาลง หรืออาจเปลี่ยนเป็นอย่างอื่น หนา ๆ น้อย ๆ นิ่ม ๆ ยาว ๆ กลม ๆ ๒. คำซ้ำ ๒.๑ ลักษณะของคำซ้ำ ๑) ครูสนทนากับนักเรียนและซักถามเกี่ยวกับคำซ้ำ แล้วให้นักเรียนสรุปลักษณะของคำซ้ำ โดยใช้เนื้อหาจากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ม. ๑ เล่ม ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงลักษณะของคำซ้ำ ๓) ครูอธิบายเรื่อง คำซ้ำ โดยใช้เวลาประมาณ ๑๐ นาที หรือให้ครูใช้เวลาตามความ เหมาะสม นั่ง ๆ นอน ๆ มืด ๆ ค่ำ ๆ ร้อน ๆ หนาว ๆ

๒.๑ ลักษณะของคำซ้ำ ๑. เป็นคำชนิดใดหรือทำหน้าที่ใดก็ได้ เช่น ๒. คำซ้ำ ๒.๑ ลักษณะของคำซ้ำ ๑. เป็นคำชนิดใดหรือทำหน้าที่ใดก็ได้ เช่น นาม สรรพนาม เป็นต้น ๒. นำคำหนึ่ง ๆ มาซ้ำกันสองครั้ง เช่น เด็ก ๆ เล็ก ๆ เล่น ๆ ๓. นำคำซ้อนมาแยกซ้ำกัน เช่น ลูบคลำ เป็น ลูบ ๆ คลำ ๆ ๒. คำซ้ำ ๒.๑ ลักษณะของคำซ้ำ ๑) ครูสนทนากับนักเรียนและซักถามเกี่ยวกับคำซ้ำ แล้วให้นักเรียนสรุปลักษณะของคำซ้ำ โดยใช้เนื้อหาจากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ม. ๑ เล่ม ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงลักษณะของคำซ้ำ ๔. นำคำซ้ำมาประสมกัน เช่น งู ๆ ปลา ๆ ไป ๆ มา ๆ ๕. นำคำซ้ำมาเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ เพื่อเน้นความหมาย เช่น ดี๊ดี

การซ้ำคำทำให้เกิดความหมายแตกต่างไปจากเดิม ดังนี้ ๒. คำซ้ำ ๒.๒ ความหมายของคำซ้ำ การซ้ำคำทำให้เกิดความหมายแตกต่างไปจากเดิม ดังนี้ ๓. บอกความ ไม่เน้นหนัก ๔. บอกคำสั่ง ๒. บอกความเน้นหนัก ๑. บอกพหูพจน์ ๕. เปลี่ยนความหมายใหม่ ๖. แยกคำซ้อน มาเป็นคำซ้ำ ๒. คำซ้ำ ๒.๒ ความหมายของคำซ้ำ ๑) ครูให้นักเรียนสรุปความหมายของคำซ้ำ โดยใช้เนื้อหาจากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ม. ๑ เล่ม ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงควาหมายของคำซ้ำ ๓) ครูคลิกที่หัวข้อ เพื่อเชื่อมโยงไปยังเฟรมเนื้อหาที่ต้องการ หรือคลิกที่ปุ่มไป เพื่อข้าม ไปยังหัวข้อถัดไป

การซ้ำคำทำให้เกิดความหมายแตกต่างไปจากเดิม ดังนี้ ๒. คำซ้ำ ๒.๒ ความหมายของคำซ้ำ การซ้ำคำทำให้เกิดความหมายแตกต่างไปจากเดิม ดังนี้ ๑. บอกพหูพจน์ คำเดิมอาจเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์ กลายเป็นพหูพจน์อย่างเดียว เช่น เขาเล่นกับเพื่อน เป็น เขาเล่นกับเพื่อน ๆ พี่อยู่ในห้อง เป็น พี่ ๆ อยู่ในห้อง ๒. คำซ้ำ ๒.๒ ความหมายของคำซ้ำ ๑) ครูให้นักเรียนสรุปความหมายของคำซ้ำ โดยใช้เนื้อหาจากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ม. ๑ เล่ม ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงควาหมายของคำซ้ำ ๓) ครูคลิกที่ปุ่มกลับ เพื่อกลับสู่เนื้อหาเฟรมหลัก

การซ้ำคำทำให้เกิดความหมายแตกต่างไปจากเดิม ดังนี้ ๒. คำซ้ำ ๒.๒ ความหมายของคำซ้ำ การซ้ำคำทำให้เกิดความหมายแตกต่างไปจากเดิม ดังนี้ ๒. บอกความเน้นหนัก วิเศษณ์บางคำเมื่อเป็นคำซ้ำ มีความหมายเน้นหนักกว่าเดิม โดยมากเปลี่ยนเสียงคำแรกเป็นเสียงตรี เช่น สวย ๆ เป็น ซ้วยสวย  ดี ๆ เป็น ดี๊ดี ๒. คำซ้ำ ๒.๒ ความหมายของคำซ้ำ ๑) ครูให้นักเรียนสรุปความหมายของคำซ้ำ โดยใช้เนื้อหาจากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ม. ๑ เล่ม ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงความหมายของคำซ้ำ ๓) ครูคลิกที่ปุ่มกลับ เพื่อกลับสู่เนื้อหาเฟรมหลัก

การซ้ำคำทำให้เกิดความหมายแตกต่างไปจากเดิม ดังนี้ ๒. คำซ้ำ ๒.๒ ความหมายของคำซ้ำ การซ้ำคำทำให้เกิดความหมายแตกต่างไปจากเดิม ดังนี้ ๓. บอกความไม่เน้นหนัก วิเศษณ์บางคำเมื่อเป็นคำซ้ำความหมายคลายความเน้นหนักกว่าเดิมหรือไม่จงใจ คำซ้ำประเภทนี้ ไม่เปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ของคำแรก เช่น ใกล้ เป็น ใกล้ ๆ ดี เป็น ดี ๆ ๒. คำซ้ำ ๒.๒ ความหมายของคำซ้ำ ๑) ครูให้นักเรียนสรุปความหมายของคำซ้ำ โดยใช้เนื้อหาจากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ม. ๑ เล่ม ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงความหมายของคำซ้ำ ๓) ครูคลิกที่ปุ่มกลับ เพื่อกลับสู่เนื้อหาเฟรมหลัก

การซ้ำคำทำให้เกิดความหมายแตกต่างไปจากเดิม ดังนี้ ๒. คำซ้ำ ๒.๒ ความหมายของคำซ้ำ การซ้ำคำทำให้เกิดความหมายแตกต่างไปจากเดิม ดังนี้ ๔. บอกคำสั่ง วิเศษณ์ที่เป็นคำซ้ำเมื่อประกอบกริยา จะเน้นความและบอกคำสั่ง เช่น อยู่เงียบ เป็น อยู่เงียบ ๆ พูดดัง เป็น พูดดัง ๆ ๒. คำซ้ำ ๒.๒ ความหมายของคำซ้ำ ๑) ครูให้นักเรียนสรุปความหมายของคำซ้ำ โดยใช้เนื้อหาจากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ม. ๑ เล่ม ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงความหมายของคำซ้ำ ๓) ครูคลิกที่ปุ่มกลับ เพื่อกลับสู่เนื้อหาเฟรมหลัก

การซ้ำคำทำให้เกิดความหมายแตกต่างไปจากเดิม ดังนี้ ๒. คำซ้ำ ๒.๒ ความหมายของคำซ้ำ การซ้ำคำทำให้เกิดความหมายแตกต่างไปจากเดิม ดังนี้ ๕. เปลี่ยนความหมายใหม่ คำซ้ำบางคำเปลี่ยนความหมายใหม่โดยไม่มีเค้าของความหมายเดิม เช่น กล้วย ๆ หมู ๆ ดี ๆ ชั่ว ๆ ๒. คำซ้ำ ๒.๒ ความหมายของคำซ้ำ ๑) ครูให้นักเรียนสรุปความหมายของคำซ้ำ โดยใช้เนื้อหาจากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ม. ๑ เล่ม ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงความหมายของคำซ้ำ ๓) ครูคลิกที่ปุ่มกลับ เพื่อกลับสู่เนื้อหาเฟรมหลัก

๖. แยกคำซ้อนมาเป็นคำซ้ำ ๒. คำซ้ำ ๒.๒ ความหมายของคำซ้ำ การซ้ำคำทำให้เกิดความหมายแตกต่างไปจากเดิม ดังนี้ ๖. แยกคำซ้อนมาเป็นคำซ้ำ คำซ้ำบางคำเกิดจากการแยกคำซ้อนมาซ้ำกัน เช่น จืดชืด เป็น จืด ๆ ชืด ๆ จริงจัง เป็น จริง ๆ จัง ๆ ๒. คำซ้ำ ๒.๒ ความหมายของคำซ้ำ ๑) ครูให้นักเรียนสรุปความหมายของคำซ้ำ โดยใช้เนื้อหาจากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ม. ๑ เล่ม ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงความหมายของคำซ้ำ ๓) ครูคลิกที่ปุ่มกลับ เพื่อกลับสู่เนื้อหาเฟรมหลัก

๒. คำซ้ำ ๒.๒ ความหมายของคำซ้ำ ข้อสังเกตของคำซ้ำ • คำที่ออกเสียงซ้ำกันบางคำไม่ใช่คำซ้ำ เพราะไม่ได้เกิดคำขึ้นใหม่และ ความหมายก็ไม่เปลี่ยนไป ในกรณีเช่นนี้จะใช้ไม้ยมกแทนไม่ได้ เช่น – เขาวิ่งทุกวันวันละครึ่งชั่วโมง วันวัน ไม่ใช่คำซ้ำ ๒. คำซ้ำ ๒.๒ ความหมายของคำซ้ำ ๑) ครูให้นักเรียนสรุปความหมายของคำซ้ำ โดยใช้เนื้อหาจากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ม. ๑ เล่ม ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงความหมายของคำซ้ำ • ในกรณีที่พูดแล้วหยุดและไม่ได้ทำกิริยาต่อเนื่อง ไม่ถือเป็นคำซ้ำ เช่น – ไป ไป๊ ไปให้พ้น ไป ไป๊ ไป ไม่ใช่คำซ้ำ – เป็นเป็นเป็น ตายเป็นตาย ไม่ใช่คำซ้ำ

คำที่เป็นคำซ้ำไม่ได้ เรื่องน่ารู้ คำซ้ำ คำบางคำเป็นคำซ้ำไม่ได้ แต่คำบางคำเป็นคำซ้ำได้อย่างเดียว คำที่เป็นคำซ้ำไม่ได้ • กริยาช่วย เช่น คง ได้ อาจ • บุพบท เช่น ของ แห่ง ด้วย กับ • สันธาน เช่น เมื่อ หลังจาก และ แต่ จึง เรื่องน่ารู้ ครูอธิบายเรื่อง คำซ้ำ เพื่อเสริมความรู้ให้แก่นักเรียน นอกเหนือจากความรู้ในบทเรียน เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเรื่องที่เรียนมากยิ่งขึ้น คำที่ต้องเป็นคำซ้ำ • ส่วนมากเป็นคำวิเศษณ์ เช่น หยิบ ๆ หลัด ๆ คิก ๆ ยอง ๆ

ชั่งทีละหนึ่งกิโลกรัม และชั่งมากกว่าหนึ่งกิโลกรัม บอกความหมายของคำซ้ำ ๑. ไป ๆ มา ๆ เขาก็ตกลงใจจะไปกับเรา ในที่สุด ๒. ดี ๆ ชั่ว ๆ เราก็เป็นเพื่อนกัน อย่างไรก็ตาม ๓. ไม่เจอกันแค่ไม่กี่เดือน เด็กสองคนนี้ ตัวไล่ ๆ กันแล้ว สูงต่ำมากน้อย ไม่ต่างกันมาก ๑) ครูให้นักเรียนอ่านข้อความ แล้วบอกความหมายของคำซ้ำโดยอาศัยบริบทของประโยค ประกอบการพิจารณา ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงคำตอบและอธิบายเพิ่มเติม ครูสามารถให้นักเรียนทำกิจกรรมทบทวนความรู้เพิ่มเติม กิจกรรมที่ ๒๕ คำซ้ำ จากแบบฝึก ทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ม. ๑ เล่ม ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๓) ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมโดยใช้เวลาประมาณ ๕ นาที หรือให้ครูใช้เวลาตามความเหมาะสม ๔. รู้งู ๆ ปลา ๆ อย่างนี้ทำอะไรก็ไม่ได้ รู้บ้างแต่ไม่สันทัด ชั่งทีละหนึ่งกิโลกรัม และชั่งมากกว่าหนึ่งกิโลกรัม ๕. แม่ค้าชั่งผลไม้เป็นกิโล ๆ

แยกคำซ้อนมาเป็นคำซ้ำ คำซ้ำมีความหมายลักษณะใด เพราะเหตุใด ๑. มะม่วงลูกนี้เปรี๊ยวเปรี้ยว ใครซื้อมานะ บอกความเน้นหนัก เหตุผล เปรี้ยว เป็นคำวิเศษณ์ เมื่อนำคำมาซ้ำจะเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์เป็น เปรี๊ยวเปรี้ยว ซึ่งจะมีความหมายเน้นหนักกว่าเดิม ๒. กี่ปี ๆ เขาก็ยังป่วยออด ๆ แอด ๆ อย่างนี้ตลอด แยกคำซ้อนมาเป็นคำซ้ำ ๑) ครูให้นักเรียนพิจารณาคำซ้ำแต่ละประโยคว่าเป็นคำซ้ำลักษณะใด พร้อมบอกเหตุผลประกอบ ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงคำตอบและอธิบายเพิ่มเติม ครูสามารถให้นักเรียนทำกิจกรรมทบทวนความรู้เพิ่มเติม กิจกรรมที่ ๒๕ คำซ้ำ จากแบบฝึก ทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ม. ๑ เล่ม ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด ๓) ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมโดยใช้เวลาประมาณ ๕ นาที หรือให้ครูใช้เวลาตามความเหมาะสม เหตุผล ออด ๆ แอด ๆ เกิดจากการแยกคำซ้อนมาจาก ออดแอด มาเป็นคำซ้ำ ออด ๆ แอด ๆ หมายความว่า ป่วยไข้อยู่เสมอ

คำซ้ำมีความหมายลักษณะใด เพราะเหตุใด ๓. โจทย์ข้อนี้ความรู้พื้น ๆ ก็ทำได้ เปลี่ยนความหมายใหม่ เหตุผล พื้น เป็นคำนาม หมายถึง ส่วนราบด้านหน้าของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง แต่เมื่อนำมาซ้ำ ความหมายจะเปลี่ยนไปเป็น ธรรมดาทั่วไป ๔. นั่งเงียบ ๆ อย่าส่งเสียงดังเชียวนะ บอกคำสั่ง ๑) ครูให้นักเรียนพิจารณาคำซ้ำแต่ละประโยคว่าเป็นคำซ้ำลักษณะใด พร้อมบอกเหตุผลประกอบ ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงคำตอบและอธิบายเพิ่มเติม ครูสามารถให้นักเรียนทำกิจกรรมทบทวนความรู้เพิ่มเติม กิจกรรมที่ ๒๕ คำซ้ำ จากแบบฝึก ทักษะ รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ม. ๑ เล่ม ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด เหตุผล เงียบ ๆ เป็นคำวิเศษณ์ที่เป็นคำซ้ำ เมื่อนำมาประกอบกับกริยา จะเน้นความและ บอกคำสั่ง

แต่งประโยคจากคำซ้ำ ๑. ร้อน ๆ หนาว ๆ ๒. ทั่ว ๆ ๓. กล่อง ๆ ๔. กว๊างกว้าง ๕. หมู ๆ ฉันรู้สึกร้อน ๆ หนาว ๆ ยังไงก็ไม่รู้เหมือนกับจะเป็นไข้ ครูแจกอาหารให้นักเรียนได้กินโดยทั่ว ๆ กัน แม่แบ่งขนมออกเป็นกล่อง ๆ ๑) ครูให้นักเรียนแต่งประโยคจากคำซ้ำที่กำหนดให้ ๒) ครูคลิกเพื่อแสดงแนวคำตอบ ๓) ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมโดยใช้เวลาประมาณ ๗ นาที หรือให้ครูใช้เวลาตามความเหมาะสม ห้องนี้กว๊างกว้างน่าอยู่มาก ข้อสอบวันนี้หมู ๆ หลับตาก็ทำได้

จงหาคำซ้ำที่เปลี่ยนความหมาย เกมตามหาคำซ้ำที่เปลี่ยนความหมาย จงหาคำซ้ำที่เปลี่ยนความหมาย ๑) ครูให้นักเรียนเล่นเกมตามหาคำซ้ำที่เปลี่ยนความหมาย วิธีเล่น ๑. ครูคลิกคำซ้ำให้ดู แล้วให้นักเรียนบอกว่าคำใดเป็นคำซ้ำที่เปลี่ยนความหมาย ให้นักเรียนยกมือ ขึ้นตอบ พร้อมทั้งบอกความหมายของคำซ้ำนั้น ๒. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยและให้รางวัลสำหรับคนที่ตอบถูกต้อง ๓. ครูคลิกเพื่อแสดงคำตอบและอธิบายเพิ่มเติม ๒) ครูให้นักเรียนเล่นเกมโดยใช้เวลาประมาณ ๕ นาที หรือให้ครูใช้เวลาตามความเหมาะสม

เกมตามหาคำซ้ำที่เปลี่ยนความหมาย กล้วย ๆ กล้วย ๆ หมายถึง ง่าย หมู ๆ หมายถึง ง่าย พื้น ๆ หมายถึง ธรรมดา งู ๆ ปลา ๆ หมายถึง รู้เพียงเล็ก ๆ น้อย ๆ น้อง ๆ หมายถึง เกือบ, ใกล้, คล้าย ดี ๆ ชั่ว ๆ หมายถึง อย่างไรก็ตาม ไล่ ๆ หมายถึง ใกล้เคียง เปื้อน ๆ งู ๆ ปลา ๆ พื้น ๆ เค็ม ๆ ดี ๆ หมู ๆ นิ่ม ๆ แดง ๆ ดี ๆ ชั่ว ๆ ๏ ครูให้นักเรียนเล่นเกมตามหาคำซ้ำที่เปลี่ยนความหมาย วิธีเล่น ๑. ครูคลิกคำซ้ำให้ดู แล้วให้นักเรียนบอกว่าคำใดเป็นคำซ้ำที่เปลี่ยนความหมาย ให้นักเรียนยกมือ ขึ้นตอบ พร้อมทั้งบอกความหมายของคำซ้ำนั้น ๒. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยและให้รางวัลสำหรับคนที่ตอบถูกต้อง ๓. ครูคลิกเพื่อแสดงคำตอบและอธิบายเพิ่มเติม ไล่ ๆ ชืด ๆ น้อง ๆ ที่ ๆ หนู ๆ

สรุปความรู้ คำซ้ำ ความหมาย ลักษณะ บอกพหูพจน์ เป็นคำชนิดใดหรือทำหน้าที่ใดก็ได้ บอกความเน้นหนัก นำคำหนึ่ง ๆ มาซ้ำกันสองครั้ง บอกความไม่เน้นหนัก นำคำซ้อนมาแยกซ้ำกัน สรุปความรู้เรื่อง คำซ้ำ ๑. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง คำซ้ำ ๒. ครูคลิกเพื่อแสดงข้อความสรุปทีละหัวข้อ ๓. ครูสรุปความรู้โดยใช้เวลาประมาณ ๓ นาที หรือให้ครูใช้เวลาตามความเหมาะสม บอกคำสั่ง นำคำซ้ำมาประสมกัน เปลี่ยนความหมายใหม่ นำคำซ้ำมาเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์เพื่อเน้นความหมาย แยกคำซ้อนมาเป็นคำซ้ำ