แผนงานยุทธศาสตร์บูรณาการระดับประเทศ พัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Hand-Foot-Mouth Disease/ Enterovirus 71
Advertisements

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
CD ข้อมูล แผ่น ชื่อ File
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
กำหนดการ – น. ลงทะเบียน – น. กล่าวต้อนรับและเปิดการสัมมนา – น. นโยบายส่งเสริมการลงทุนใน รูปแบบคลัสเตอร์ โดย เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการ.
อาจารย์จงกลนี วิทยารุ่งเรืองศรี ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. ผู้จัดการโครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส สถาบันสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ.
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI โดย อาจารย์วาสนา สังข์พุ่ม
รูปแบบการพัฒนาและส่งเสริมผู้มี
โรคเลปโตสไปโรซีส(ไข้ฉี่หนู) Leptospirosis
Septic shock เป็นภาวะช็อกที่เกิดจาก systemic inflammatory response ของร่างกาย อันเป็นผลมาจากการติดเชื้อรุนแรง.
การเฝ้าระวัง และระบบการรายงานข้อมูล เพื่อการเฝ้าระวัง
โรงเรียนในเตาพิทยาคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
การใช้เครื่องมือเตือนภัยทางการเงินและ การวิเคราะห์ผล ( CFSAWS:ss )
วิทยุกระจายเสียง ในประชาคมอาเซียน.
ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาอุบัติเหตุ
มารู้จักหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร.
พระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550
การวัดทางระบาดและดัชนีอนามัย
ระหว่างวันที่ พฤศจิกายน 2559
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
บทที่ 3 การจัดการความเสี่ยง
การเบิก-จ่ายเงินอย่างมืออาชีพ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
บทที่ 13 วงจรบัญชีแยกประเภททั่วไป
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์
หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการกลุ่มวัย
ประชุมชี้แจงการใช้สื่อ ชุดการจัดการเรียนรู้สื่อ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก สพป.น่านเขต 2 วันที่ 16.
สหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จำกัด
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
บทที่ 7 การควบคุม (Controlling).
การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ หลักสูตร นายทหารฝ่ายการส่งกำลังบำรุง (ฝอ.๔) ณ รร.กบ.ทบ. ๕ มิ.ย. ๖๐.
วิทยานิพนธ์เรื่อง การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้โปรแกรมการออกกำลังกายต่ออาการเหนื่อยล้าของผู้ป่วยมะเร็ง เม็ดเลือดขาวมัยอีลอยด์ชนิดเฉียบพลันที่รับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยยาเคมีบำบัด.
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
นโยบายการบริหาร นักเรียน นักศึกษา มีวินัยและจรรยาบรรณ
ความก้าวหน้าการขับเคลื่อน งานวิชาการและนวัตกรรม กรมอนามัยปี ๒๕๖๑
การเขียนและการจัดทำข่าวประชาสัมพันธ์ทางหนังสือพิมพ์
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
นางบุญชอบ เกษโกวิท ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
Burden of Diseases (BOD) Disability Adjusted Life Years(DALY)
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครนายก
กระบวนการเรียนการสอน
Origin Group Present.
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
วิชาการเลี้ยงสุกร ระดับปวช.
นโยบายทันตสาธารณสุขกับระบบงานปฐมภูมิ
โครงการศูนย์เรียนรู้ต้นแบบโรงเรียนเด็กไทยแก้มใสถวายเจ้าฟ้านักโภชนาการ
เรื่องชนเผ่าในจังหวัดมุกดาหาร
งานการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
การจัดทำแผนปฏิบัติการ ระดับหน่วยงานกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
การดูแลสุขภาพบุคลากรในโรงพยาบาล :Update องค์ความรู้ (Violence)
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน และคณะ
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลคำพราน ปีงบประมาณ 2560 พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
คลินิกหมอครอบครัวคุณภาพ
วิชาสถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญPPA1106
ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน/สำนักงาน ป.ป.ท.
Risk-taking behaviors in Adolescent
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนงานยุทธศาสตร์บูรณาการระดับประเทศ พัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย กลุ่มปฐมวัย สำนักโรคติดต่อทั่วไป 9 พฤศจิกายน 2559

แผนงานป้องกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก

สถานการณ์โรคสัปดาห์ที่ 43 ปี 2559 พบผู้ป่วย 72,534 ราย จาก 77 จังหวัด อัตราป่วย 110.86 ต่อแสนประชากร สถานการณ์โรคสัปดาห์ที่ 43 ปี 2559 สัปดาห์ที่ 43 พบผู้ป่วย 72,534 ราย สัปดาห์ที่ 42 พบผู้ป่วย 71,610 รายเพิ่มขึ้นกว่าสัปดาห์ที่แล้ว 924 ราย สัดส่วนเพศชายต่อเพศหญิง 1: 0.73 กลุ่มอายุที่พบมากที่สุด 1 ปี (27.13 %) 2 ปี (24.81 %) 3 ปี (18.85 %) ผู้เสียชีวิต 3 ราย 1.จังหวัดเชียงใหม่ เพศชาย อายุ 9 เดือน ให้ผลบวกเชื้อ Enterovirus 71 2.จังหวัดฉะเชิงเทรา เพศชาย อายุ 1 ปี 3.จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพศชาย อายุ 5 ปี ภาคเหนือ 183.08 ต่อแสนประชากร ภาคกลาง 127.05 ต่อแสนประชากร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 76.52 ต่อแสนประชากร ภาคใต้ 59.65 ต่อแสนประชากร จังหวัดที่มีอัตราป่วยต่อแสนประชากรสูงสุด 10 อันดับแรก 1. สระบุรี (281.17) 6. พะเยา (220.25) 2. น่าน (261.86) 7. นครสวรรค์ (215.32) 3. ระยอง(255.25) 8. แม่ฮ่องสอน (201.94) 4. เชียงราย (253.94) 9. เชียงใหม่ (190.75) 5. พิษณุโลก (230.61) 10.กรุงเทพ (186.19) ที่มา: รายงาน 506, ส.ระบาดวิทยา สัปดาห์ที่ 43, 30 ต.ค 2559

Determinant Enterovirus 71 Coxsackie virus group A, B Echovirus โรคมือ เท้า ปาก Determinant Enterovirus 71 Coxsackie virus group A, B Echovirus Behaviors การอยู่รวมกันเป็น จำนวนมากในศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียนอนุบาลเสี่ยง ต่อแพร่กระจายเชื้อ และเกิดการระบาด Program Response พัฒนาความร่วมมือภาคีเครือข่าย ขยายการดำเนินงานโรงเรียนอนุบาลและ สถานรับเลี้ยงเด็กให้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น สร้างการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กในครอบครัวและชุมชน นิเทศ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง พัฒนาระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็กและ โรงเรียนอนุบาล Morbidity and Mortality Event ปี 59 มีรายงานผู้ป่วยโรคมือ เท้า ปาก แบบกลุ่มก้อน(Cluster) จำนวน 38 เหตุการณ์(22จังหวัด) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (14 เหตุการณ์) โรงเรียนอนุบาล (13 เหตุการณ์) ชุมชน (11 เหตุการณ์) ผู้ป่วยทั้งหมด 224 ราย เสียชีวิต 3 ราย

เป้าหมายการลดโรคมือ เท้า ปาก ตัวชี้วัด ข้อมูลพื้นฐาน ปีงบประมาณ 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 อัตราป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กอายุ 0 - 5 ปี ลดลง (ต่อแสนประชากร) 28 70 71 102 50 40 30 ระดับเขต เป้าหมายการลดโรคมือ เท้า ปาก ปี 2560 : อัตราป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กอายุ 0 - 5 ปี ลดลงร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี หรือ ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร

โครงการพัฒนาความร่วมมือภาคีเครือข่าย การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคมือเท้าปาก เป้าหมายลดโรค ปี 2560 อัตราป่วยโรคมือ เท้า ปาก ในเด็กอายุ 0-5 ปี ลดลง (ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร) ตัวชี้วัดโครงการ ร้อยละ 80 ของศูนย์เด็กเล็กสามารถดำเนินงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 50 ของโรงเรียนอนุบาลสามารถดำเนินงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด

มาตรการ/โครงการ/ชุดกิจกรรมสำคัญ และงบประมาณปี 2560 กรมควบคุมโรค มาตรการ : การขับเคลื่อนการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคมือ เท้า ปากในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาล โครงการ เป้าหมาย งบประมาณ (บาท) สำนัก สคร. รวม โครงการพัฒนาความร่วมมือภาคีเครือข่าย การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคมือเท้าปาก อัตราป่วยโรคมือเท้าปาก ในเด็กอายุ 0-5 ปี ลดลง (ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร) 1,600,000 2,400,000 (สคร.ละ 200,000) 4,000,000

กิจกรรมสำคัญปี 2560 สำนัก สคร. 1) เร่งรัดการขยายผลการดำเนินงานในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลอย่างต่อเนื่อง จัดทำแนวทางการติดตามประเมินผลการดำเนินงานและลงพื้นที่ติดตามผลในพื้นที่ร่วมกับสคร./สสจ. ผลิตและสนับสนุนองค์ความรู้ คู่มือ แนวทาง และ สื่อการเรียนการสอนสำหรับครูผู้ดูแลเด็ก 1) ขยายผลการดำเนินงานให้ครอบคลุมเป้าหมายศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลในพื้นที่ ประสานและถ่ายทอดแนวทาง การดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็กให้กับพื้นที่ ประชุมทีมประเมินระดับจังหวัด จัดอบรมครูผู้ดูแลเด็กและจัดประชุมผู้ปกครองทุกปีร่วมกับ สสจ. ติดตามผลการดำเนินงานศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลที่ผ่านเกณฑ์

กิจกรรมสำคัญปี 2560 (ต่อ) สำนัก สคร. 2) พัฒนาระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ปรับปรุงและแก้ไขระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็ก จัดประชุมชี้แจงและถ่ายทอดระบบเฝ้าระวังฯ ติดตามประเมินผลการดำเนินงานในพื้นที่ร่วมกับ สคร. และ สสจ 2) ขับเคลื่อนระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ร่วมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้หน่วยงานเครือข่าย และครูผู้ดูแลเด็กเข้าใช้งาน ร่วมแจ้งข้อมูลเข้าสู่ระบบรายงาน และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ประสานการดำเนินงานและร่วมลงพื้นที่

กิจกรรมสำคัญปี 2560 (ต่อ) สำนัก สคร. 3) โครงการสำรวจพฤติกรรมและปัจจัยเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในเด็กเล็ก สุ่มสำรวจฯร่วมกับสคร. 3) ร่วมสำรวจพฤติกรรมและปัจจัยเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในเด็กเล็ก ประสานพื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย ร่วมสำรวจฯ

ตารางการลงพื้นที่เก็บข้อมูล & ติดตามระบบเฝ้าระวังฯ เขต อำเภอ/จังหวัด วัน / เดือน / ปี สคร.3 อ.คลองขลุง จ.กำแพงเพชร 15 - 17 พย.59 สคร.10 อ.ลืออำนาจ จ.อำนาจเจริญ 21 - 25 พย.59 สคร.7 อ.เมืองสรวง จ.ร้อยเอ็ด สคร.6 อ.สอยดาว จ.จันทบุรี 7 - 9 ธค.59 สคร.8 อ.สร้างคอม จ.อุดรธานี 14 - 16 ธค.59 สคร.4 อ.ไชโย จ.อ่างทอง 4 - 6 มค.60 สคร.12 อ.นาทวี จ.สงขลา 9 - 13 มค.60 สคร.11 อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีฯ สคร.9 อ.บ้านแท่น จ.ชัยภูมิ 17 - 19 มค.60 สคร.1 อ.ปง จ.พะเยา 23 - 27 มค.60 สคร.2 อ.บ้านโคก จ.อุตรดิตถ์ สคร.5 อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี 1 - 3 กพ.60 สปคม. เขตบางขุนเทียน จ.กรุงเทพมหานคร 7 - 9 กพ.60

การติดตามประเมินผล : วิธีการ : ติดตามประเมินผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคมือเท้าปาก ในพื้นที่ร่วมกับ สคร. และ สสจ. ติดตามสถานการณ์โรคมือ เท้า ปาก จากรายงาน 506 ของสำนักระบาดวิทยา ติดตามจากรายงานจำนวนเด็กป่วยในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลจากการเฝ้าระวังฯ เครื่องมือ : คู่มือการประเมินศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ข้อมูลรายงาน 506 ของสำนักระบาดวิทยา ระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลของสำนักโรคติดต่อทั่วไป ระยะเวลา : ต.ค.59 – ก.ย.60

ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก ปีงบประมาณ 2561 1) เร่งรัดการขยายผลการดำเนินงานในศูนย์เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ - ประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาภาคีเครือข่ายความร่วมมือในการป้องกันฯกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2) พัฒนาระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อให้มีประสิทธิภาพ - ขยายผลการใช้ระบบเฝ้าระวังฯและการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ 3) ติดตามผลการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคมือเท้าปากในพื้นที่ร่วมกับ สคร. และ สสจ. 4) สนับสนุนการดำเนินงานในพื้นที่ (วิทยากร/ องค์ความรู้/ วัสดุอุปกรณ์/ งปม.)

ขอบคุณค่ะ