การพัฒนาสังคม Social Development

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
น.พ.นิทัศน์ รายยวา รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
เกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming)
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
การพัฒนาสังคม Social Development
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบเศรษฐกิจ.
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2 : ความหมายของการพัฒนา
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
อำนาจ การปกครอง และการระงับข้อพิพาท
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การวางแผนกำลังการผลิต
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

01460443 การพัฒนาสังคม Social Development อาจารย์เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ อาจารย์พรเทพ พัฒธนานุรักษ์ และคณะ 4 : 27 ส.ค. 60

กรอบแนวคิดการพัฒนา : กระบวนทรรศน์ (Paradigm) (1) ทรรศนะพื้นฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง/หลายอย่างที่จะกำหนดแบบแผน การคิดและการปฏิบัติในประชาคมหนึ่งๆ (2) ความคิดรวบยอดของมนุษย์ที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง/หลายอย่าง โดยจะกำหนดแบบแผนความคิดหรือพฤติกรรมการกระทำ (3) เมื่อทรรศนะ/ความคิดพื้นฐานเปลี่ยนแปลงจะทำให้แบบแผนการคิด และการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนแปลงไปด้วย (Paradigm Shift)

“การวิวาทะและความขัดแย้งช่วงชิงอำนาจ” การให้ความหมาย กรอบแนวคิดการพัฒนา : การปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ (Paradigm Shift) “การวิวาทะและความขัดแย้งช่วงชิงอำนาจ” การให้ความหมาย “การพัฒนา” : - ทุนนิยม/เสรีนิยม - สังคมนิยม/คอมมิวนิสต์ ตั้งแต่เริ่มก่อกำเนิดของทฤษฎีแรกแห่งการพัฒนา (The First Theory of Development)

กรอบแนวคิดการพัฒนา : การปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ (Paradigm Shift) - สมัยประธานาธิบดี Harry S. Truman ของจักรวรรดินิยมอเมริกาภายหลังจากการยุติลงของสงครามโลกครั้งที่ 2 - การต่อสู้ระหว่างลัทธิการเมืองและนโยบาย 4 เป้าหมาย (Point Four Programme) เพื่อถ่วงดุลอำนาจ ช่วงชิงและครอบงำประเทศอ่อนแอให้เป็น ฐานกำลังในการต่อสู้กับปฏิปักษ์ - สงครามระหว่างลัทธิได้ดำเนินติดต่อกันมาจนกระทั่งเกิดการล่มสลาย ของลัทธิสังคมนิยมโซเวียต รวมทั้งการเปลี่ยนท่าที แนวทางและนโยบายทาง การเมืองของพันธมิตรหลายๆ ประเทศ

กรอบแนวคิดการพัฒนา : การปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ (Paradigm Shift) - การล่มสลายของลัทธิเศรษฐกิจการเมืองของประเทศที่เป็นปฏิปักษ์ทำให้เกิดการแพร่กระจายและขยายตัวของแนวคิดเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก (Main Stream Economy) - การประเทศบริวารและกึ่งบริวารที่เปรียบเสมือนกับประเทศอาณานิคม ยุคใหม่ (New Colony) ของจักรวรรดินิยมอเมริกานำเอาแนวคิดทาง เศรษฐศาสตร์กระแสหลัก และแนวคิดปฏิฐานนิยมไปกำหนดแนวทางใน การพัฒนาประเทศ

- แนวคิดการพัฒนาประเทศที่ใช้ก่อให้เกิดการแสวงหา : กรอบแนวคิดการพัฒนา : การปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ (Paradigm Shift) - ผลการนำแนวคิดมาใช้พัฒนาประเทศอย่างขัดแย้งกับวัฒนธรรมและวิถีการดำรงชีวิต (Mode of Living) - แนวคิดการพัฒนาประเทศที่ใช้ก่อให้เกิดการแสวงหา : : ผลประโยชน์ส่วนบุคคลอย่างไร้ขอบเขต : การทำลายล้างระบบนิเวศ ระบบศีลธรรม วัฒนธรรม สังคม รวมทั้ง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) เริ่มประมาณสงครามโลกครั้งที่ 2 ภายหลังสงครามเกิดภัยพิบัติ/หายนะ โดยเฉพาะพื้นที่ประเทศยุโรป และแนวคิดการพัฒนาแพร่หลายสู่ประเทศด้อยพัฒนาประมาณ 1950-60 นักทฤษฎีเสนอกรอบ “การพัฒนาเชิงเนื้อหาทางเทคนิค” (Technical matters) ที่มีการใช้วิเคราะห์ปัญหาสังคมด้อย พัฒนาต่างๆ ด้วยการประยุกต์ใช้:- : Neo-Classic Economic : American Social Science

กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) เสนอตัวแบบเพื่อการวางแผนพัฒนา โดยเห็นว่า “เศรษฐศาสตร์พัฒนาการ” หรือ“Development Economics” เป็นศาสตร์/สาขาที่มีความก้าวหน้าสูง โดยลักษณะ เป็นศาสตร์เชิง “ปฏิฐาน” (Positive Science) ที่มีอิทธิพลต่อ การกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศต่างๆ โดยพิจารณา แนวการปฏิบัติงานเน้นดำเนินงานทางเศรษฐกิจลักษณะ -: Functional Approach :- เศรษฐกิจนำหน้าสังคม/การเมือง/วัฒนธรรม

กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) ทฤษฎีภาวะทันสมัย ModernizationTheory เริ่มปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 : โครงการฟื้นฟูประเทศยุโรป ตะวันออก (European Recovery Programme, ERP) = E/F/I/W G เสนอตัวแบบเพื่อการวางแผนพัฒนา โดยเห็นว่าประสบ ผลสำเร็จ แพร่หลายสู่ประเทศด้อยพัฒนา ทฤษฎีภาวะทันสมัย ModernizationTheory

กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ” นักทฤษฏี/นักวิชาการ/นักปฏิบัติในกลุ่ม “ปฏิฐานนิยม/ สุขนิยม” (Positivists) เสนอ “การพัฒนาจะเกิดขึ้นต้องอาศัย ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ” : อุปสรรค/ภาวะด้อยพัฒนาจะเกิดจากการขาดเงื่อนไขการ สร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

กรอบแนวคิดที่ 1 (First Paradigm) ประเด็นการพัฒนา : : ขจัดเงื่อนไขอุปสรรค : เศรษฐกิจเจริญ : สังคมเจริญ กรอบแนวความคิดประยุกต์ใช้กว้างขวางทั้งประเทศ พัฒนาและประเทศด้อยพัฒนา ลักษณะแนวความคิด/ทฤษฎีกลไก (Technocratic Theory) : ใช้เป็นวิธีเชิงการปฏิบัติงาน

กรอบแนวคิดที่ 2 (Second Paradigm) พิจารณามองการพัฒนาเชิงโต้ตอบ/การต่อต้านกรอบ แนวคิด 1 st Paradigm เริ่มขึ้นระยะเวลาใกล้เคียงกันในพื้นที่ยุโรปตะวันตก ลาตินและอเมริกา ประมาณต้นทศวรรษที่ 1960 (2503) โดยเสนอแยกการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาออกจาก : - เศรษฐศาสตร์พัฒนา - สังคมวิทยาอเมริกัน แนวคิดหลายกระแสมาก

กรอบแนวคิดที่ 2 (Second Paradigm) นักทฤษฎี/นักวิชาการกลุ่มนี้เรียกว่า แนวคิดก้าวหน้า (The Radicals) โจมตีวิพากษ์ทฤษฎีภาวะทันสมัยว่า เป็น การมองปัญหาคับแคบ/ไม่ครอบคลุมถึงแก่นแท้ปัญหามาก พอสำหรับการพัฒนาประเทศต่างๆ ปัญหาประเทศด้อยพัฒนาเกิดจากครอบงำ การเอารัดเอา เปรียบ และขูดรีดจากประเทศจักรวรรดินิยม Structuralism Approach

กรอบแนวคิดที่ 2 (Second Paradigm) หลักการที่ใช้วิเคราะห์ปัญหาและทางออกของสังคมด้อย พัฒนาที่ขยายตัวและได้รับความสนใจอย่างรวดเร็ว ได้แก่ - ทฤษฎีพึ่งพา (Dependency Theory) - ทฤษฎีภาวะด้อยพัฒนา (Underdevelopment Theory)

กรอบแนวคิดที่ 3 (Third Paradigm) เริ่มประมาณต้นศตวรรษที่ 1970 โดยกลุ่มนักทฤษฎี มาร์กซิสต์ (The Marxists) ที่เริ่มให้สนใจปัญหาการพัฒนา โลกที่ 3 การขยายตัวระบบทุนนิยมโลกมีผลต่อภาวะความสับสน และภาวะด้อยพัฒนาของประเทศด้อยพัฒนาทั่วไป

กรอบแนวคิดที่ 3 (Third Paradigm) : แนวทางพิจารณาปัญหาสังคมด้อยพัฒนา - วิถีการผลิต (Mode of Production) - การดูดซับมูลค่าส่วนเกินทางเศรษฐกิจ (Economic Surplus) - การขัดแย้งทางชนชั้น (Social Class Conflict)

กรอบแนวคิดที่ 3 (Third Paradigm) การพัฒนา : ทุน (Capital) แรงงาน (Labour) ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้น (Social Class Relationship)

กรอบแนวคิดการพัฒนา ทฤษฎีการพัฒนามิใช่สูตรสำเร็จ (Ready Formula) ที่จะนำไปใช้ได้อย่างกว้างขวางในทุกระบบสังคม แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาไม่ควรจะมีลักษณะเป็น mechanico- formal formulation เพราะ : 1) กระบวนการพัฒนาเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง 2) ประเด็นการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม ของสังคมที่มีเงื่อนไขและรูปแบบทางประวัติศาสตร์แตกต่างกัน 18 18

จุดมุ่งหมายของการพัฒนา Quality of Life : Wealth = Rich พิจารณา : เชิงคุณภาพ = เชิงประมาณ 19 19

จุดมุ่งหมายของการพัฒนา 1. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาทั่วไป “การสร้างสรรค์ประเทศให้มีความเจริญ” ทำให้ประเทศ : - เสถียรภาพ - ความมั่นคง - ประชาชนมีความเป็นอยู่/คุณภาพชีวิตที่ดีตามมาตรฐานที่เหมาะสมกับสังคมนั้น 20 20

จุดมุ่งหมายของการพัฒนา Dudley Seers : “The Meaning of Development” เสนอ 2. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาเบื้องต้น 2.1. ขจัดความไม่รู้ : ภาวะขาดการศึกษา ความไม่รู้ ความโง่ของประชาชนเป็นอุปสรรคการพัฒนาประเทศ ความรู้/ความฉลาดจะเป็นโครงสร้างพื้นฐาน (Basic Structure/Pattern) 21 21

จุดมุ่งหมายของการพัฒนา 2. 2 ขจัดความยากจน : ประชาชนในประเทศต้องมีงานรายได้เพื่อประทังชีพ งานเป็นศักดิ์ศรี (Dignity) ของทรัพยากรมนุษย์อย่างน้อย หัวหน้าครอบครัวต้องมีงาน การขจัดความยากจนเป็นการสร้างศักยภาพของมนุษย์ (Human Potential) ความยากจนประชาชนเป็น 25% ทำให้เกิดปัญหาการพัฒนา 22 22

จุดมุ่งหมายของการพัฒนา 2.3. ขจัดเจ็บป่วย : ประชาชนสุขภาพไม่ดีย่อมเอื้อต่อกัน/ เกี่ยวกับปัญหาอื่นๆ จึงต้องเสริมสร้างความสมบูรณ์และเข้มแข็งทั้ง ร่างกาย & จิตใจ 2.4. ขจัดอยุติธรรม : แก้ไขการเอารัดเอาเปรียบคุณธรรม & จริยธรรมเป็นพื้นฐานสังคมมนุษย์ ความไม่ยุติธรรมก่อให้เกิดความขัดแย้งเอารัดเอาเปรียบ แก่งแย่งและความแตกต่างการใช้ความรุนแรง ความขัดแย้ง การใช้ความรุนแรง ปฏิวัติ การเปลี่ยนแปลง 23 23

3.1 การพึ่งตนเอง : มุ่งต้องการให้พึ่งตนเอง (Self- 3. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาสูงสุด 3.1 การพึ่งตนเอง : มุ่งต้องการให้พึ่งตนเอง (Self- reliance) ทั้งระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน สังคมและ ประเทศชาติ 3.2 ความสามารถในเชิงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : ความก้าวหน้าในแง่ความเข้าใจ การคิดค้น ประดิษฐ์และการ ประยุกต์ใช้ 24

3.3 การใช้ทรัพยากร : ทุกประเภททั้งในแง่ทุนและอื่นๆ 3. จุดมุ่งหมายของการพัฒนาสูงสุด 3.3 การใช้ทรัพยากร : ทุกประเภททั้งในแง่ทุนและอื่นๆ ทางกายภาพ ชีวภาพและมนุษย์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3.4. การกระจายอำนาจ : การบริหาร การพัฒนาใน การกระจายอำนาจอาจจะเกิดทั้ง - แง่ + ระดมความคิดและร่วมมือระดับล่าง - แง่ - อาจล่าช้าเพราะผ่านขั้นตอน 25

เท่าเทียม/ทัดเทียม/ทั่วถึง/เป็นธรรมกับทุกฝ่าย การพิจารณาการกระจายอำนาจ 1. ขอบเขตและการตัดสินใจ 2. การกำหนดนโยบายต่างๆ 3. การใช้จ่ายและการควบคุมการคลัง 4. การบังคับบัญชาบุคลากร 5. การจัดการและรูปแบบการบริหาร 3.5 การกระจายผลประโยชน์ : ทุกในแง่ประโยชน์จาก บริการสาธารณะ (Public Interest) เท่าเทียม/ทัดเทียม/ทั่วถึง/เป็นธรรมกับทุกฝ่าย 26

กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 1. การเสริมสร้างความมีเหตุผล : การพยายามให้ผู้อื่นเกิดความรู้อย่างมีเหตุผล : การใช้ปัญญาให้ เกิดการพัฒนา การพัฒนาโดยใช้ภูมิปัญญา 2. การวางแผนอย่างมีเป้าหมาย : การมองการณ์ไกล : การยอมรับความก้าวหน้าและนวัตกรรม 3. ทัศนคติที่ดี “ชีวิต” และ “งาน” : การที่มีทัศนคติที่ดี สร้างสิ่งที่ดี หรือมองผู้อื่นด้วยดี : พิจารณาคุณค่าและให้คุณค่าที่ดีต่องาน ชีวิต และผู้อื่น 27

กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 4. การสร้างสถาบันที่มีความชำนาญ : การพัฒนาสถาบัน/องค์กรที่มีความชำนาญ : สร้างงาน ให้งานกับผู้ที่มีความสามารถ และสร้างสถาบัน/องค์กรที่ดีตามความชำนาญ 5. ประสิทธิภาพการผลิต/ดำเนิงาน: การประกอบกิจกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ : สร้างประสิทธิภาพการผลิต/ทำงานจะมีผลต่อการใช้ทรัพยากรและการพัฒนา Input Process/System Output สมดุล ด้อยพัฒนา พัฒนา Input = Output Input > Output Input < Output 28

กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 6. การเพิ่มผลผลิต/ผลงาน การยกระดับด้วยการเพิ่มผลผลิต/ผลงาน : เพิ่มประสิทธิภาพในผลงานที่รับผิดชอบให้ดีขึ้น 7. โอกาสการได้รับบริการสาธารณะ ความเสมอภาคในโอกาสการได้รับบริการสาธารณะ : พิจารณาโอกาส เงื่อนไข และการยกเว้น 8. ประชาธิปไตยระดับ “รากหญ้า” วิถีทางประชาธิปไตยในการอยู่ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตย : สามารถยอมรับความแตกต่างและการมีเหตุผล 29

กลไกการบรรลุจุดมุ่งหมายของการพัฒนา 9. การสร้างความเข้มแข็งของชาติ ผลประโยชน์ของสังคม/ประเทศเป็นหลัก : การให้ความ สำคัญต่อผลประโยชน์โดยรวมของทุกคนในสังคมและประเทศ 10. ความมีวินัยของสังคม สร้างเสริมวินัยบุคคลในประเทศ : วินัยการดำรงชีวิต/ประกอบอาชีพ (จริยธรรม/จรรยาบรรณ) 30

ปรัชญาพื้นฐานการพัฒนา บุคคลมีความแตกต่างและมีเอกลักษณ์ บุคคลมีสิทธิและกำหนดวิถีชีวิตตนเอง บุคคลสามารถเรียนรู้ บุคคลมีความคิดริเริ่ม บุคคลความสามารถพัฒนาขีดความสามารถของชุมชน 31

ปรัชญาแห่งการพัฒนา มนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุด เพราะมีความสามารถและพลัง ซ่อนเร้น ศรัทธาในความยุติธรรมของสังคม เพื่อขจัดความขัดแย้งและความ เหลื่อมล้ำในสังคม ความไม่รู้ ความดื้อรั้นและการใช้กำลังเป็นอุปสรรคสำคัญในการ พัฒนา 32

แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนา ความหมายของการพัฒนาขึ้นอยู่กับบุคคล สถานการณ์ และเวลา การพัฒนาเป็นความคิดที่กำเนิดมาจากตะวันตก และมีอิทธิพลครอบงำการกำหนดนโยบายการพัฒนาในประเทศโลกที่ 3 สามารถจำแนกการพัฒนาตามอุดมการณ์ เช่น ทุนนิยมกับสังคมนิยม ระดับการพัฒนา เช่น ประเทศยากจน ประเทศฝ่ายเหนือฝ่ายใต้ และประเทศโลกที่ 1 และ 2 องค์การสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา ประกอบด้วย UN WB ADB IMF และ WTO เป็นต้น

ทฤษฎีว่าด้วยการพัฒนาสังคม ทฤษฎีการพัฒนาช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ประกอบด้วย ทฤษฎีว่าด้วยความชะงักงันทางเศรษฐกิจ ทฤษฎีวัตถุนิยมทางประวัติศาสตร์ และทฤษฎีของ จอห์น เมนาร์ด เคนท์ ทฤษฎีการพัฒนาช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประกอบด้วย ทฤษฎีว่าด้วยความทันสมัย ทฤษฎีว่าด้วยขั้นตอนความเจริญทางเศรษฐกิจ ทฤษฎีวงจรอุบาทว์ ทฤษฎีการเจริญเติบโตที่สมดุลกับการเจริญเติบโตที่ไม่สมดุล ทฤษฎีนีโอมาร์กซิสต์ ทฤษฎีพึ่งพาและทฤษฎี อคติแห่งความเป็นเมือง

ทฤษฎีการพัฒนา : กลุ่มวิวัฒนาการประวัติศาสตร์แบบเส้นตรง ทฤษฎีการพัฒนา : กลุ่มวิวัฒนาการประวัติศาสตร์แบบเส้นตรง ทฤษฎีภาวะทันสมัย (Modernization Theory) เกิดขึ้นที่อเมริกาและยุโรปภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีคำขวัญว่า “ถ้าอยากก้าวหน้า ต้องเป็นแบบอเมริกาและยุโรป” ทฤษฎีภาวะพึ่งพา (Dependency Theory) หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มหาอำนาจประเทศอเมริกาสร้างวาทกรรมการพัฒนาให้ประเทศด้อยพัฒนาต้องพึ่งพิงทางเศรษฐกิจและการเมืองประเทศมหาอำนาจในฐานะประเทศบริวาร ทฤษฎีว่าด้วยความด้อยพัฒนา (Underdevelopment Theory) ประเทศโลกที่ 3 ที่ต้องพึ่งพิงประเทศมหาอำนาจในทุกด้าน จึงจะสามารถดำรงอยู่ได้และนำไปสู่ความเป็นประเทศที่พัฒนา ตามความหมายของมหาอำนาจ

ทฤษฎีการพัฒนา : กลุ่มวิวัฒนาการประวัติศาสตร์แบบเส้นตรง ทฤษฎีการพัฒนา : กลุ่มวิวัฒนาการประวัติศาสตร์แบบเส้นตรง ทฤษฎีอคติแห่งความเป็นเมือง อธิบายถึงความเหลื่อมล้ำของการพัฒนา ระหว่างเมืองกับชนบทและช่องว่างระหว่างรายได้ของประชาชน ทฤษฎีวัตถุนิยมทางประวัติศาสตร์ของมาร์กซิสต์ ความขัดแย้งทางชนชั้นนำไปสู่การล้มล้างระบอบระบบกษัตริย์และศักดินาทุกรูปแบบ พร้อมทั้งเสนอให้สถาปนาระบบการเมืองและเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์ ทฤษฎีระบบโลก (World System Theory) อเมริกาเป็นศูนย์กลางของอำนาจทางเศรษฐกิจและการเมือง

ทฤษฎีการพัฒนา : กลุ่มวิวัฒนาการประวัติศาสตร์แบบเส้นตรง ทฤษฎีการพัฒนา : กลุ่มวิวัฒนาการประวัติศาสตร์แบบเส้นตรง ทฤษฎีการบรรจบกัน เป็นการคลี่คลาย/ เคลื่อนตัว/ ปรับปรนเข้าหากันของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและสังคมนิยม เพื่อสร้างรูปแบบเศรษฐกิจที่เป็นจริง/ สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงและเป็นไปของสังคม ทฤษฎีความหลากหลาย มองปัจจุบัน ปฏิเสธความขัดแย้งว่าเป็นการเผชิญหน้า มาเป็นมองความแตกต่าง/ ขัดแย้ง เป็นความหลากหลาย และไม่ใช่คู่ตรงข้าม

ผลพวงสำคัญของทฤษฎีการพัฒนา นโยบายและประสบการณ์การพัฒนาของประเทศต่างๆ ในโลก ประสบปัญหาทางเลือกที่สำคัญ 7 ประการ คือ - ความเจริญเติบโตกับการกระจายความเจริญ - การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจกับการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม - การพัฒนาเมืองกับการพัฒนาชนบท - การใช้เทคโนโลยีที่เน้นทุนกับการใช้เทคโนโลยีที่เน้นแรงงาน - การรวมอำนาจกับการกระจายอำนาจ - ความทันสมัยกับขนบธรรมเนียมดั้งเดิม - การวางแผนทางกายภาพกับการวางแผนทางเศรษฐกิจและสังคม

ผลพวงสำคัญของทฤษฎีการพัฒนา การพัฒนาที่ผ่านมา บทเรียนสำคัญที่ประเทศต่าง ๆ ต้องคำนึง - การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของตัวเลข - การขอรับโครงการช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา - ปัญหาความยากจน สิ่งแวดล้อม และสิทธิชุมชน การพัฒนาในปัจจุบันมีลักษณะการพัฒนาแบบองค์รวมมากขึ้น แนวคิดที่สำคัญซึ่งเป็นผลพวงจากการพัฒนาแบบเดิมมีอยู่ด้วยกัน 3 แนวคิด คือ แนวคิดที่ว่าด้วยระบบโลก แนวคิดที่ว่าด้วยการพัฒนาแบบยั่งยืนและแนวทางใหม่เพื่อการพัฒนา แนวคิดที่ว่าด้วยการพัฒนาแบบยั่งยืนในสังคมไทยที่สำคัญมีอยู่ด้วยกัน 2 แนวคิด คือ การพัฒนาตามแนวพุทธศาสน์ และการพัฒนาแนววัฒนธรรมชุมชน

ยุทธศาสตร์แห่งการพัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนา เป็นแนวทางการพัฒนาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้ดำเนินงานและควบคุมการพัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนาจะขึ้นอยู่กับเป้าหมายของประเทศ ยุทธศาสตร์การพัฒนาสามารถจำแนกได้หลายประเภท ได้แก่ - ยุทธศาสตร์เพื่อความทันสมัย - ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อความจำเริญทางเศรษฐกิจ - ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อความเท่าเทียม - ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อการพึ่งตนเอง - ยุทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อความยั่งยืน ในปัจจุบันแนวโน้มประเทศต่างๆ กำลังให้ความสนใจต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพราะเป็นหัวใจของการพัฒนาทุกรูปแบบ ในขณะเดียวกันรัฐบาลก็ต้องเร่งเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยเฉพาะชุมชนท้องถิ่นระดับฐานราก

ความสำคัญและปัจจัยกำหนดยุทธศาสตร์แห่งการพัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนาเป็นแนวทางการพัฒนาที่สำคัญเพื่อดำเนินงานและควบคุมการพัฒนาให้สามารถบรรลุเป้าหมายของการพัฒนาที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศจะขึ้นอยู่กับเป้าหมายในการพัฒนาของรัฐ ซึ่งถูกกำหนดโดยสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งภายในและนอกประเทศ