ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560-2561 นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
Advertisements

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ผู้บัญชาการ และฝ่ายข้อมูลและยุทธศาสตร์
มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง กับการบรรจุแต่งตั้ง.
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
แนวทางการพัฒนา EOC กรมควบคุมโรค
น.พ.เฉวตสรร นามวาท ผู้อำนวยการสำนักวัณโรค
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
ระบบบัญชาการเหตุการณ์และ ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การบริหารความปลอดภัยสารสนเทศ
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปงานและทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
ภาพรวมของ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศอ5
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
กฎหมายข้าราชการพลเรือน ผู้อำนวยการสำนักกฎหมาย สำนักงาน ก.พ.
Service Plan สาขาโรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระบบบัญชาการเหตุการณ์
AIDs/ STI/ TB/ Leprosy/ Hepatitis
แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
บูรณาการ“เข้าใจ เข้าถึง”
การพัฒนาระบบ การวินิจฉัยโรคจากการทำงาน รพ.ระยอง
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
การดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เขตสุขภาพที่ 5
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
นโยบายการดำเนินงาน PrEP กับการยุติปัญหาเอดส์
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
ความเป็นมาของโครงการ และแนวคิดของรูปแบบการจัดบริการปรึกษาและตรวจเอชไอวีโดยเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลาง (community-centered service model) พญ.นิตยา ภานุภาค พึ่งพาพงศ์
การส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ (Workplace Health Promotion)
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
การบูรณาการ สมรรถนะที่ ก.พ. กำหนด สมรรถนะ M.O.P.H.
นโยบายการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
นายแพทย์ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การดำเนินงานการจัดบริการเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และวัณโรค สำหรับภาคีเครือข่ายศูนย์บริการชุมชน (DIC- Cluster) ในระดับ อำเภอ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ.
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560-2561 นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพเชิงบูรณาการ ระหว่างวันที่ 14-16 ธันวาคม 2559 ณ โรงแรมเวียงอินทร์ ริเวอร์ไซด์ จังหวัดเชียงราย

จากยุทธศาสตร์กระทรวง...สู่(ร่าง)กรอบยุทธศาสตร์ ระยะ 20 ปี กรมควบคุมโรค

(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค (ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค วิสัยทัศน์: ประชาชนได้รับการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระดับมาตรฐานสากล ภายในปี 2579 Integrity Service mind Mastery/ Expertise Achievement motivation Relationship Teamwork เป้าหมาย ประชาชนสุขภาพดี (ปลอดโรค ปลอดภัย) ระบบควบคุมโรคเข้มแข็ง ประชาชนสุขภาพดี ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย เจ้าหน้าที่มีความสุข องค์กรคุณธรรม ความสุขของคนทำงาน ระบบสุขภาพเข้มแข็ง เครือข่าย พัฒนาบุคลากร ระบบโครงสร้างพื้นฐาน Infrastructure Policy and Interventions Manage, Facilitate and Co-ordinate PH Emergency Management Workforce ระยะที่ 1 : ปฏิรูประบบ (พ.ศ.2560-2564) ระยะที่ 2 : สร้างความเข้มแข็ง (พ.ศ.2565-2569) ระยะที่ 3 : สู่ความยั่งยืน (พ.ศ.2570-2574) ระยะที่ 4 : เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย (พ.ศ.2575 -2579)

แนวทางขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค กำหนดชุดเป้าหมายระยะยาว จัดทำกรอบยุทธศาสตร์ (Strategic Framework) ๒๐ ปี และทบทวนกรอบยุทธศาสตร์ทุก ๕ ปี และตามความจำเป็น จัดตั้งกลไกการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ ในระบบป้องกันควบคุมโรคให้เหมาะสมกับกรอบยุทธศาสตร์ฯ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ระยะ ๕ ปี โดยอาศัย “กรอบยุทธศาสตร์ ๒๐ ปี” เป็นแนวทางในการจัดทำแผนฯ ระยะที่ 1: ปฏิรูประบบ (พ.ศ.2560-2564) ระยะที่ 2: สร้างความเข้มแข็ง (พ.ศ.2565-2569) ระยะที่ 3: สู่ความยั่งยืน (พ.ศ.2570-2574) ระยะที่ 4: ประชาชนสุขภาพดี (พ.ศ.2575 -2579)

กรอบตัวชี้วัดและเป้าหมายของการป้องกันควบคุมโรค ระยะ ๒๐ ปี Prevention Excellence Service Excellence ลดจำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ไม่เกิน1,000 ราย (ภายในปี 2573) 10. ความชุกของ Primary MDR-TB ลดลงร้อยละ 50 11. ความชุกของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลลดลงร้อยละ 20 2. อัตราป่วยวัณโรคลดลงร้อยละ 90 3. อัตราป่วยโรคมาลาเรียไม่เกิน elimination target 12. ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงร้อยละ 50 สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ 4. อัตราป่วยและการดำเนินงานของโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนเป็นไปตามพันธสัญญานานาชาติ 13. ผู้ป่วยโรคเบาหวานร้อยละ 50 สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ 5. อัตราตายโรคหลอดเลือดหัวใจลดลงร้อยละ 25 6. ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปี ลดลงร้อยละ 50 People Excellence 14. อัตราส่วนนักระบาดวิทยาต่อประชากร ไม่น้อยกว่า 1 คนต่อประชากร 200,000 คน 7. ประมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ต่อประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ลดลงร้อยละ 40 Governance Excellence 8. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี ลดลงร้อยละ 80 15. ทุกของหน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรคผ่านเกณฑ์การประเมินด้านธรรมาภิบาล 9. อัตราป่วยโรคพิษโลหะหนักในประชากรอายุ 0-14 ปีในพื้นที่เสี่ยงสูง ไม่เกิน ไม่เกิน 0.1 ต่อประชากรหนึ่งแสนคน 16.ไม่พบผู้ป่วยโรคติดต่ออันตรายที่เกิดขึ้นใน Generation ที่ 2

เป้าหมายการดำเนินงาน 5 ปี

โรคไม่ติดต่อ และควบคุมปัจจัยเสี่ยง เป้าหมาย 5 ปี (2564) : ประชาชนสุขภาพดี (ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย) โรคไม่ติดต่อ และควบคุมปัจจัยเสี่ยง โรค มาตรการ เป้าหมาย ปี 2564 1. CVD Risk ประเมิน CVD risk ผู้ป่วย DM HT Baseline: ปี 59 = ร้อยละ 77.89 -ร้อยละของผู้ป่วยDM HTที่ขึ้น ทะเบียนได้รับการประเมินโอกาส เสี่ยงต่อCVD ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 2. HT/DM ควบคุมผู้ป่วย HT และ/หรือ DM รายใหม่ Baseline: ปี 59 HT=714 ราย ,DM=344 ราย (ต่อแสน) -อัตราผู้ป่วย HT และ/หรือ DM รายใหม่ลดลง HT=516 ราย ,DM=250 ราย (ต่อแสน) 3. ALC ควบคุมการบริโภคแอลกอฮอล์ประชากร ไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป Baseline: ปริมาณการบริโภค ปี 58= 6.95 L/คน/ปี -ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ต่อประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ไม่เกิน 6.54 ลิตรแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี 4. ยาสูบ ลดการบริโภคยาสูบประชากรไทยอายุ 15ปีขึ้นไป Baseline: ความชุกปี 58= ร้อยละ19.9 -ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทยอายุ 15 ปี ขึ้นไป ไม่เกินร้อยละ 16 5. จมน้ำ ป้องกันควบคุมการจมน้ำของเด็กร่วมกับพื้นที่ ภาคีเครือข่าย “merit maker” Baseline: ปี 57/58 = 6.8/5.9 ต่อแสนเด็ก -อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก อายุน้อยกว่า 15 ปี ≤ 3.0 ต่อแสน 6. โรคจากการ ประกอบอาชีพ สถานประกอบการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข (Healthy workplace) baseline ปี 59 = 8.9 ต่อ 1000 คลินิกสุขภาพเกษตรกรครบวงจร baseline ปี 59 = 17.6 ต่อแสน ปชก - อัตราการประสบอันตรายจากการทำงาน ไม่เกิน 5.25 ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย - อัตราป่วยด้วยโรคพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ไม่เกิน 12.5 ต่อแสนปชก 7. โรคจาก สิ่งแวดล้อม พัฒนาระบบบริการ อาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในหน่วยบริการพื้นที่เสี่ยงสูง (Clinic Env – Occ) Base line ปี 58 = 0.29 /แสน ปชก -อัตราป่วยโรคพิษโลหะหนักในกลุ่มเด็กอายุ 0-14 ปี ไม่เกิน 0.17 ต่อแสน ปชก 7

เป้าหมาย 5 ปี (2564) : ประชาชนสุขภาพดี (ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย) เป้าหมาย 5 ปี (2564) : ประชาชนสุขภาพดี (ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย) โรคติดต่อสำคัญ โรค มาตรการ เป้าหมาย ปี 2564 1. มาลาเรีย กำจัดกวาดล้างทุกอำเภอของประเทศไทยปลอดจากโรคมาลาเรีย (เฝ้าระวัง รักษา/ ควบคุมยุงพาหะ /ป้องกันตนเอง) Baseline : ปี 58 = 708 อำเภอ/เขต ปี 67 ทุกอำเภอของประเทศไทยปลอดจากโรคมาลาเรีย : ปี 64 = 882 อำเภอ/เขต) 2. ไข้เลือดออก กำจัดพาหะนำโรค- ลดการแพร่กระจายของโรค - ประสิทธิระบบการรักษา Baseline: ปี 58 /59 อัตราป่วย= 222.58 /24.32 ต่อแสน -ลดอัตราการป่วย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 (ของค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี) 3. วัณโรค ค้นหาผู้ป่วยโดยเร็ว รักษาหายและครบ Baseline: อุบัติการณ์วัณโรค ปี 57= ร้อยละ 171 / แสนปชก. - จำนวนอุบัติการณ์วัณโรค ไม่เกิน 88 /แสน ปชก. 4. โรคพยาธิใบไม้ในตับ OV คัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) ค้นหาผู้ป่วยและรักษา - พัฒนาต้นแบบชุมชน/รร. Baseline: ปี 59 = 84 ตำบล ร้อยละของตำบลจัดการสุขภาพในการ เฝ้าระวังป้องกันแก้ไขปัญหาโรคพยาธิใบไม้ในตับและมะเร็งท่อน้ำดี : ร้อยละ 80 (ตำบลเป้าหมาย 190 ) 5. เอดส์ การทำงานเชิงรุกเพื่อเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายให้ได้บริการป้องกันโรคและส่งต่อเพื่อคัดกรองและรักษาโรคตามมาตรการ RRTTR (Reach-Recruit-Test-Treat-Retain) Baseline ปี57 MSM = 9.2%, ปี58 ANC (15-24ปี) = 0.42% - ความชุกของ HIV ใน MSM ไม่เกินร้อยละ 6.8 -ความชุกของ HIV หญิงฝากครรภ์อายุ 15-24 ปี ไม่เกิน ร้อยละ 0.3 6.โรคพิษสุนัขบ้า ผู้สัมผัสโรคได้รับการฉีดวัคซีนตามแนวทางฯ Baseline: พบผู้เสียชีวิตปี 58, ปี59 = 5 ราย , 11 ราย ไม่พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า 7. โรคเรื้อน เร่งรัดค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ Baseline: ปี 57/58 = 208/187 ราย ผป. โรคเรื้อนรายใหม่ : ไม่เกิน 100 ราย 8. โปลิโอ รักษาสถานะปลอดโปลิโอ (ปลอดโปลิโอ ตั้งแต่ปี 40) 8

ภาครัฐ เอกชน (ภาคธุรกิจ, NGO) ความเชื่อมโยง ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคฯ กับแผนยุทธศาสตร์โรค เพื่อขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมาย ภายใน 5 ปี เป้าหมาย : ประชาชนสุขภาพดี (ลดเสี่ยง ลดป่วย ลดตาย) แผนยุทธศาสตร์ โรคจากการประกอบอาชีพ & สิ่งแวดล้อม แผนยุทธศาสตร์ โรคติดต่อ แผนยุทธศาสตร์ โรคติดต่อ อุบัติใหม่ แผนยุทธศาสตร์ เอดส์ วัณโรค โรคเรื้อน ตับอักเสบ แผนยุทธศาสตร์ โรคไม่ติดต่อ แผนยุทธศาสตร์ การบาดเจ็บ แผนยุทธศาสตร์ ปัจจัยเสี่ยง (Alc. ยาสูบ) การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน- ระบบป้องกันควบคุมโรคที่เข้มแข็ง-เป็นเอกภาพ ภาครัฐ (MOPH, non- MOPH) เอกชน (ภาคธุรกิจ, NGO) ที่แสดงไว้ใน Slide นี้ เป็นคณะกรรมการที่ดูนโยบาย (Policy) น่าจะเพิ่มเติมด้วยว่า มีคณะกรรมการตามกฎหมาย คือ คณะกรรมการวัตถุอันตราย ที่ใช้ พรบ.วัตถุอันตราย 2535 และฉบับปรับปรุง -คณะอนุกรรมการที่เกี่ยวข้อง อาจตัดแถวสีฟ้า คณะอนุกรรมการ 3 คณะออกไป จะทำให้ที่ว่างมากขึ้น พัฒนาภารกิจ โครงสร้าง บริหาร จัดการระบบ พัฒนาระบบข้อมูลเพื่อการ เฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรค พัฒนามาตรการ ที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาความเข้มแข็งแผนงานควบคุมโรค พัฒนาระบบกลไกตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน พัฒนากำลังคนรองรับระบบป้องกันควบคุมโรคภัยสุขภาพ พัฒนาระบบห้อง ปฏิบัติการทางสาธารณสุข ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรค & ภัยสุขภาพแห่งชาติ ๕ ปี ๒๕๖๐-๒๕๖๔

ทิศทาง และเป้าหมายการดำเนินงาน 2560

นโยบายท่านอธิบดีกรมควบคุมโรค ปี 2560 ให้ความสำคัญสูงสุดต่อโครงการตามพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ : หนอนพยาธิ, พยาธิใบไม้ตับ เร่งรัดดำเนินการให้ได้ตามเป้าหมายยุทธศาสตร์บูรณาการชาติ กระทรวง และ กรม : กลุ่มวัย พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ดิจิทัล ขยะ & สิ่งแวดล้อม วิจัย ปราบปรามทุจริต บังคับใช้กฎหมาย ATM, EOC, SAT ดำเนินการเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง/พื้นที่เสี่ยง ตามจุดเน้นแผนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยง โรคจากอาชีพและสิ่งแวดล้อม โรคติดต่อ และการพัฒนาเชิงระบบ ดำเนินการตามกรอบ 36 แผนปฏิบัติราชการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค ให้ได้ตามเป้าหมาย พัฒนาศูนย์ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดทุกจังหวัด เร่งรัดพัฒนารูปแบบการควบคุมโรคในเขตเมืองให้สามารถขยายผลทันสถานการณ์ปัญหาเมืองใหญ่ บูรณการอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งกับระบบสุขภาพอำเภอในการลดโรคที่เป็นปัญหาสำคัญเชิงคุณภาพ ขับเคลื่อนพ.ร.บ.โรคติดต่อ 2558 ให้การดำเนินงานเป็นรูปธรรม มีประสิทธิภาพระดับจังหวัด & อำเภอ บริหารความเสี่ยงให้ Small Success 3, 6, 9, 12 เดือน บรรลุตามเป้าหมายตัวชี้วัดคำรับรอง การปฏิบัติราชการของกรมฯ และหน่วยงาน เร่งรัดติดตามผลงานและการเบิกจ่ายงบประมาณให้ได้ตาม พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายปี 2560 และมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพของรัฐบาล

วิสัยทัศน์กรมควบคุมโรค เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายในปี 2563 ยุทธ ศาสตร์ ค่านิยมองค์การ I SMART พัฒนา ร่วมมือกับเครือข่ายภาคีภายในและนานาชาติ พัฒนานวัตกรรม มาตรการ มาตรฐานและวิชาการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ สื่อสารสาธารณะ ประชาสัมพันธ์ ทั่วถึง ได้ผล เตรียมพร้อม ตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน ภัยพิบัติอย่างรวดเร็ว บริหารจัดการองค์กรแนวใหม่ พัฒนาบทบาทการนำด้านนโยบายและยุทธศาสตร์การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ที่เป็นหลักของประเทศ Integrity Service mind Mastery/ Expertise Achievement motivation Relationship Teamwork

ระบบการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ Infrastructure Non-communicable disease DC SYSTEM DC System for National Security Excellence Center Surveillance EOC Agriculture/ Industry Occupational Health Special Setting/Pop Point of entry /Border Health /Migrant Acute/Chronic Infectious diseases Environmental Medicine Regional Disease Control ( Public Health lab) Vaccine Security Equipment/Laboratory HRP/HRD Information Technology International Training Center International Research Center แผนยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ. 2560-2564 1 ) เป้าประสงค์หลัก คือ ระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศที่มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน 2) ประกอบด้วย 1) แผนงานพัฒนาระบบควบคุมโรคเพื่อความมั่นคงของประเทศ (Disease Control System for National Security) 2) แผนงานพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (Excellence Center for Disease Control) 3) แผนงานสนับสนุนการพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ได้แก่ การพัฒนาทรัพยากรบุคคล ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การอบรมระหว่างประเทศ (International Training Center) และศูนย์การวิจัยระหว่างประเทศ (International Research Center) 3) ขั้นตอนการจัดทำแผนยกระดับประสิทธิภาพและพัฒนาสู่ความยั่งยืนด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ. 2558 – 2562 ได้แก่ 1) กำหนดภาพอนาคตที่พึงประสงค์ วิเคราะห์สถานการณ์ และหาส่วนขาด 2) ระบุความต้องการ/ความจำเป็นที่จะลงทุน 3) กำหนดเป็นแผนปฏิบัติการเพื่อการลงทุน โดยจำแนกรายการการลงทุนเป็นรายปี หมายเหตุ: EOC หมายถึง Emergency Operation Center หรือศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

ขอบคุณครับ