บทบาทของ สสจ" ในงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ในสถานการณ์ปัจจุบัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1 สาขาธุรกิจสุขภาพในประเทศไทย (Health care Business in Thailand) น. พ. สุรพงศ์ อำพันวงษ์ เครือ ร. พ. เกษมราษฎร์ สมาคม ร. พ. เอกชน หอการค้าไทย สภาหอการค้าไทยแห่ง.
Advertisements

Health System Reform.
ทิศทางการพัฒนาระบบสุขภาพ หน่วยบริการสุขภาพของ อปท.
วิสัยทัศน์ พันธกิจ ศูนย์อนามัยที่ 4
ส่วนที่ 2 ระบบประเมินผลสัมฤทธิ์โครงการบูรณาการ (Project Evaluation System)  การประเมินคุณภาพบริการ  การประเมินศักยภาพระบบสนับสนุน การวิเคราะห์ต้นทุน.
จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร?จังหวัดกาฬสินธุ์ของเราจะมีงานวิจัยที่ดีและจำนวนมากพอได้อย่างไร? สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH,
ด้าน สิ่งแวดล้อ มและ สุขภาพ EHA อสธ จ. ระบบอนามัย สิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา.
การเขียนแผนการสอน Media Base learning. รายละเอียดแผนการเรียนรู้ 1. สาระสำคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอด หรือหลักการของเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้เกิดกับ.
CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
นายนพรุจ ธนาทิพยางกูร
ECT breast & Re-accredited plan
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
ระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
Guideline on Good Corporate Governance for Insurance Companies in Thailand 1/11/48.
สิริพินท์ ศิริโสภาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การประชุมผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
การเตรียมความพร้อมข้าราชการ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
นโยบายการพัฒนาสถานประกอบการเพื่อสุขภาพมุ่งสู่คุณภาพ
ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
กลุ่มสัตว์ทดลอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 8 พฤศจิกายน 2559
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
บทที่ 2 ภาพรวมกระบวนการ (A Generic View of Process)
สถิตินิติบุคคลตั้งใหม่ ช่วงเดือน ม.ค – มิ.ย (สนง.ใหญ่)
แนวโน้มประเด็นสำคัญของ การจัดการทรัพยากรมนุษย์
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร 2552 VS 2558
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ดีมาก Plus ดีมาก ดี พื้นฐาน
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
การติดตามและการประเมินผลโครงการ
การใช้สิทธิตามกฎหมายและการติดตามตรวจสอบมาตรการตาม EIA
การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน.
“การใช้สิทธิของประชาชนและชุมชนในการคุ้มครองสุขภาพและสิ่งแวดล้อม”
ทิศทางการบริหารจัดการยุทธศาสตร์งานอนามัยสิ่งแวดล้อม
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
สู่สุขภาพและคุณภาพชีวิต
การควบคุมภายในตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔
การพัฒนาประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข
โครงสร้างการทำงานภายใต้โครงการประชารัฐ
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6.
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
กรอบการประเมินการรู้วิทยาศาสตร์ (PISA 2015 และ 2018)
ทพ.สุธา เจียมมณีโชคชัย รองอธิบดีกรมอนามัย
การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
ติว ม. 6 วันที่ 15 ก.ค 2558.
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
บทที่ 6 การควบคุมภายใน.
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
Efficiency & Competitiveness Support Factor & Strategy Driver
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
การพัฒนาศักยภาพคนทำงาน
การข่มร่วมกัน คุณครูอรุณี จันทร์หอม นางสาวปิยะนุช คงเจริญ เลขที่ 32
โดย สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดจันทบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทบาทของ สสจ" ในงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ในสถานการณ์ปัจจุบัน โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา ผอ.สำนักกฎหมาย สปสช.

ประเด็นที่จะนำเสนอ อดีตที่สับสน ในช่วงปี ๒๕๔๕ (ปฏิรูประบบราชการ) นำไปสู่ความไม่ชัดเจนของบทบาทงาน Env.H. สถานการณ์ที่จำเป็น การจัดการปัญหาอนามัย สวล.ไทย ทศวรรษที่อ่อนแอของกระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ใหม่ของ กสธ. (Provider Purchaser split + Regulator) Env.H. จังหวัด อยู่ส่วนไหนของระบบสาธารณสุขใหม่ บทบาท Regulator ของงาน Env.H.คือ อะไร

ระบบการบริการสาธารณสุขของรัฐ กระทรวงสาธารณสุข หน่วยงานอิสระ/องค์การมหาชน/รัฐวิสาหกิจ สำนักงานรัฐมนตรี สำนักงาน ปลัด กสธ. กรมวิชาการ / สำนักงาน อย. สำนักงาน สสจ. ราชการ ส่วนท้องถิ่น โรงพยาบาล ศูนย์ / ทั่วไป สำนักงาน สสอ. กทม./เมืองพัทยา /อบจ./เทศบาล/อบต. สถานีอนามัย โรงพยาบาลชุมชน จัดบริการสาธารณสุข (ส่งเสริม/ป้องกัน/รักษา/ฟื้นฟู) แก่ประชาชนในพื้นที่ สายบังคับบัญชา สายสนับสนุน ราชการส่วนกลาง ราชการภูมิภาค ราชการท้องถิ่น นายศุมล ศรีสุวัฒนา ผอ.สำนักกฎหมาย สปสช.

ด้านEH. อปท.

ความท้าทายของสังคมไทย ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และ สังคม ด้านสาธารณสุข ด้านการเมือง เศรษฐกิจ และ สังคม สภาวะโรคสำคัญ ยังคงมีแนวโน้มที่สูงขึ้น (โรคมะเร็ง/อุบัติเหตุ/ หัวใจ/ปอดอักเสบ/ไต) โรคอุบัติใหม่ โรคจากอุตสาหกรรม/มลภาวะสิ่งแวดล้อม โรคจากภาวะโลกร้อน นโยบาย Medical Hub ราคายาสูง/เข้าถึงยาก ความขัดแย้งทางการเมือง (ธนาธิปไตย/อำมาตยธิปไตย/ประชาธิปไตย) กระแสโลกาภิวัตน์ (บริโภคนิยม/เทคโนโลยี/ธุรกิจข้ามชาติ/...) การขยายตัวของเขตเมือง ภาวะครอบครัวเดียว/แตกแยกมากขึ้น สังคมผู้สูงวัย

สภาพสิ่งแวดล้อม กับ สุขภาพ ทรัพยากร ธรรมชาติ กระบวนการ การผลิต การจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม เสื่อม สภาพ มล ภาวะ ปัจจัยสิ่งแวดล้อม การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ สุขภาพ นายศุมล ศรีสุขวัฒนา ผอ.สกม. สปสช.

ความสมดุลระหว่าง ภาครัฐ & ภาคเอกชน & ประชาชน การควบคุม/ออกกฎ VS ความเป็นอิสระ/เสรี ในการประกอบกิจการ การเข้มงวด/ละเลย VS การเรียกร้องสิทธิ ระบบอนามัยสิ่งแวดล้อม ภาคเอกชน ธุรกิจ/กิจการ ภาค ประชาชน การเติบโตทางเศรษฐกิจ VS ผลกระทบต่อสุขภาพ

พัฒนาการงาน EH ที่ควรจะเป็น แนวคิดการทำงานในอดีต แนวคิดที่ควรจะเป็นในอนาคต ดำเนินการเองเป็นหลัก ให้ภาคีเครือข่าย(อปท.) ดำเนินการเป็นหลัก(Partnership)= พันธมิตรที่สำคัญ เน้นพื้นที่ชนบท > เมือง เน้นพื้นที่ เมือง (เทศบาล/อบต.)> ชนบท เน้นการสร้างระบบให้ชุมชน (ช่างสุขภัณฑ์/กองทุนหมุนเวียน /กก.หมู่บ้าน.) เน้นการสร้างระบบคุณภาพแบบสากลให้ อปท.ในการให้บริการ EH (EHA) ยังเน้นการรับรองมาตรฐานสถานประกอบการ แต่ต้องเชื่อมให้ถึงสุขภาพด้วย ใช้มาตรฐานเป็นตัวตั้ง และ เน้นการรับรองมาตรฐานสถานประกอบการ ใช้มาตรการกฎหมายเป็นหลักในการขับเคลื่อนงาน EH เพื่อการคุ้มครองสิทธิ การเฝ้าระวังสภาวะสิ่งแวดล้อม & รายงาน เน้นการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่คำนึงถึงเรื่องสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ (ใช้เครื่องมือ HIA / Risk Assessment) การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร พัฒนาไปสู่การสื่อสารความเสี่ยง Risk เน้น Receptor Base (สุขภาพ) ใช้กฎหมายการสาธารณสุขเป็นตัวตั้ง

บทบาท Regulator รองรับ นโยบาย ส่วนกลาง กำกับ/สนับสนุน การปฏิบัติการ Strategy to operation / planning Prioritization Guideline Co-ordination Monitoring / Evaluation Measurement/Assess Technical support Research Development Innovation การวางแผนกลยุทธ์ และ การปฏิบัติการ การจัดลำดับความสำคัญ การจัดทำแนวปฏิบัติ การประสานงาน การติดตามกำกับ การวัด ประเมินผล การสนับสนุนวิชาการ การวิจัยพัฒนา การเสริมสร้างนวัตกรรม

Regulator on Environmental Health Context การประเมิน/ลำดับความสำคัญสถานการณ์ EH (2,6) Strategy to operation / planning Prioritization Guideline Co-ordination Monitoring / Evaluation Measurement/ Assessment Technical support Research & Development Innovation กำหนดกลยุทธ์ EH (1,3) พัฒนาเทค โนโลยี (8,9) พัฒนาบุคลากร(7) ติดตามกำกับ (4,5) Provider (อปท.) ใช้ พรบ.สธ. & ออกข้อบัญญัติ ควบคุมกิจการ ในชุมชน จัดบริการสุขาภิบาล ชุมชน จัดการปัญหามลภาวะ การป้องกันโรคติดต่อ

ระบบที่รองรับการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข 1 ระบบบริหาร Board การสร้างนโยบาย การขับเคลื่อนมติ สนับสนุนการบังคับใช้ การประเมินผลภาพรวม สนธิ สัญญาฯ /AEC กฎหมายอื่นๆ ระบบพัฒนาศักยภาพ เจ้าพนักงานฯ คณะกรรมการ สธ. อปท. (ผู้ให้บริการ) การจัดอบรม/สัมมนา การสร้างเครือข่าย การติดตามสมรรถนะเจ้าพนักงาน คำแนะนำ จพถ. / จพส. ออกกฎกระทรวง ออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ควบคุม ระบบการ เฝ้าระวัง/ติดตามกำกับ จัดบริการสุขาภิบาล/ป้องกันโรติดต่อ ระบบการ สนับสนุนการบังคับใช้ กม. สถานที่/สปก. จัดการเหตุรำคาญ การจัดระบบข้อมูล การตรวจประเมิน สปก. การประเมินผลการบริการสุขาภิบาล การจัดทำข้อเสนอ Board การพัฒนาระบบการตราข้อบัญญัติ การส่งเสริมการบังคับใช้ กม.สธ. การสนับสนุนจัดทำ HIA การร่วมบังคับใช้ กม.กรณี(Case)สำคัญ คุ้มครองสุขภาพของประชาชน (ผู้รับบริการ)

บทบาท Regulator ของ สสจ. ให้นโยบาย รมต.สธ. คณะกรรมการ สธ. รายงานเสนอ คำวินิจฉัย แต่งตั้ง รายงาน/เสนอแนะ/ออก ปก. ผู้ว่าฯ ประธาน ส่วนราชการอื่น กก. สสจ. ฝ่ายเลขาฯ พวกเรา ผู้ช่วยเลขาฯ คณะอนุ กก. สธ.จว. คณะอนุกก.อุทธรณ์ บทบาท/หน้าที่ (๑) เสนอนโยบาย/ยุทธศาสตร์/ปสง. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (๒-๔) สนับสนุนปฏิบัติการ/วิชาการ/พัฒนาศักยภาพกำลังคน (๕)ติดตามกำกับควบคุมการปฏิบัติการ (มาตรา ๑๑) (๖) รายงาน/เสนอความเห็น/หารือ อปท. (จพถ./จพส.) ออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ควบคุม จัดการเหตุรำคาญ ป้องกันโรค ติดต่อ จัดบริการสุขาภิบาล สถานที่/สปก. เพื่อคุ้มครองสุขภาพประชาชนในท้องถิ่น

บทบาท “คณะอนุ กก.สธ.จว.” เพื่อการคุ้มครองสิทธิและอำนวยความยุติธรรม (๑) วางกรอบนโยบาย/ยุทธศาสตร์การจัดการ EH.ระดับพื้นที่ กำหนดยุทธศาสตร์/เป้าหมายการจัดการ EH. ที่เป็นปัญหาของพื้นที่ กำหนดแผนการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (๒) ให้คำที่ปรึกษา/สนับสนุนการบังคับใช้ กม.สธ. ให้คำปรึกษาในการบังคับใช้กฎหมาย สนับสนุนการออกข้อบัญญัติท้องถิ่นแบบมีส่วนร่วม สนับสนุนการตรวจตรา/รับรอง ด้านสุขลักษณะ สนับสนุนการดำเนินคดี (ออกคำสั่ง/ปรับ/ฟ้องร้อง) (๓) จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาศักยภาพและกำลังคน คุณสมบัติ/จำนวนเจ้าพนักงาน พัฒนาสมรรถนะ (ความรู้ด้านกฎหมาย/วิชาการ /ทักษะและเทคนิคในการตรวจสอบ/การใช้อุปกรณ์เครื่องมือ /ทักษะการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (HIA)/ทักษะการไกล่เกลี่ยเจรจา) (๕) การติดตามกำกับ/ควบคุมดูแล การใช้ กม.สธ. (ตามมาตรา ๑๑) ตรวจสอบกรณีอุทธรณ์การใช้อำนาจ ประเมินผลการบังคับใช้กฎหมาย (ทั้งการปฏิบัติการ / การออกข้อบัญญัติ) (๖) การรายงาน/เสนอข้อ คิดเห็นต่อ คกก.สธ./การหารือ/ขอคำวินิจฉัย (๔) การพิจารณา/ตรวจสอบข้อเท็จจริงเพื่อคุ้มครองสุขภาพ การตรวจสอบกรณีร้องเรียนที่เป็นปัญหา/มีผลกระทบชุมชนอย่างร้ายแรง สนับสนุนการประเมินความเสี่ยง /ประเมินผลกระทบสุขภาพ ที่เกิดจากมลภาวะสิ่งแวดล้อม/การสื่อสารความเสี่ยง/ภัยพิบัติ (๗) แต่งตั้งคณะทำงานเฉพาะกิจ ตามความจำเป็น

การพัฒนากลไกการขับเคลื่อนงาน ระดับ กลไกตามกฎหมาย กลไกที่กำหนด ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค/ท้องถิ่น นโยบาย หลักเกณฑ์ คณะ กก. AB คณะกรรมการ สธ. อธิบดี กรม อ. คณะ กก. CB ออกใบรับรอง หลักสูตรอบรม คณะอนุกรรมการฯ คณะอนุฯอุทธรณ์ ทีม. IB ตรวจสอบStd. ตรวจเหตุร้องเรียน การให้ 3rd Party คณะอนุ สธ.จว. SERT ส่วนราชการอื่น ทสจ. / -อุต จว. แรงงาน จว. สถ.จว. นายแพทย์ สธ.จว. จพง.ทถ. คกก.เปรียบ เทียบคดี จพง.สธ. (จว./สสอ.สอ.) ภาคเอกชน NGO สวล./สุขภาพ หอการค้า/อุต

เพื่อร่วมกันพิจารณา..... ขอบคุณครับ