บทที่ 10 พฤติกรรม (Behavior) supreecha swpy 2006
พฤติกรรม (Behavior) supreecha swpy 2006
พฤติกรรม (Behavior) การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ทั้งภายนอกร่างกาย และภายในร่างกายเพื่อการอยู่รอด Gene Behavior Environment * โดยมีระบบประสาทและฮอร์โมนเป็นตัวควบคุม
สรุป พฤติกรรมของสัตว์เป็นผลจากการทำงานร่วมกันระหว่างปัจจัยทางพันธุกรรมและสภาพแวดล้อม
- ควบคุมระดับการเจริญของ Gene - ควบคุมพฤติกรรมซึ่งพัฒนาให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมโดย Natural selection - ควบคุมระดับการเจริญของ ระบบประสาท ฮอร์โมน กล้ามเนื้อ
Experience Environment Stimulus ตัวอย่าง : งู (Garter snake) - พวกอยู่บนบกไม่กินทาก - พวกอยู่ใกล้ชายฝั่งกินทาก Experience Environment Stimulus
ขั้นตอนการเกิดพฤติกรรม : Integrated Center Stimulus Recepter (สิ่งเร้า) (หน่วยรับความรู้สึก) (สมอง, ไขสันหลัง) คำสั่ง Behavior Effector (หน่วยตอบสนอง) - พฤติกรรมจะสลับซับซ้อนมากหรือน้อยขึ้นกับระดับการเจริญของปัจจัยต่าง ๆ ในขั้นตอนการเกิดพฤติกรรมนี้
กลไกการเกิดพฤติกรรม
อธิบาย
ประเภทพฤติกรรม(behavior)
พฤติกรรมจำแนกได้ออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ (โดยแสดงพฤติกรรมออกมาได้ในช่วงชีวิตของสิ่งมีชีวิต) 1. Innate Behavior : พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิดและ ไม่เปลี่ยนแปลง 2. Learned Behavior : พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ปรับเปลี่ยนได้ขึ้นกับ Experience ในช่วงชีวิต
(Autometic responses to the environment) Innate Behavior (Autometic responses to the environment) เป็นพฤติกรรมง่าย ๆ มีลักษณะเฉพาะตัวที่ใช้ในการตอบสนองต่อสิ่งเร้าชนิดใดชนิดหนึ่ง และพฤติกรรมนี้สัตว์ใน species เดียวกันจะตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างหนึ่งเหมือนกัน (Fixed - action pattern) ตัวอย่าง : การกลืนอาหาร, การตวัดลิ้นจับแมลง - พฤติกรรมนี้ได้มาจากกรรมพันธุ์เท่านั้น ไม่จำเป็นต้องเรียนรู้มาก่อน - พบในสัตว์ชั้นต่ำซึ่งมีระบบประสาทยังไม่เจริญดี เช่น Protozoa
1. Orientation : การเคลื่อนที่แบ่งได้ 2 แบบ พฤติกรรมการวางตัวของสัตว์ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับ การเคลื่อนที่แบ่งได้ 2 แบบ 1.1 Kinesis พฤติกรรมการเคลื่อนที่โดย ตอบสนองต่อสิ่งเร้าด้วยการเคลื่อนที่หนีหรือเข้าหา โดยไม่มีทิศทาง
การเคลื่อนที่ของพารามีเซียมหนีออกจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ พฤติกรรมการเคลื่อนที่ของแมลงสาบในที่โล่ง พฤติกรรมการเคลื่อนที่ของตัวกุ้งเต้น(wood lice)เมื่อความชื้นน้อยลง การเคลื่อนที่เข้าหาแสงของยูกลีนา * เชื่อว่า ไคนีซีส พัฒนาการเป็นพฤติกรรมการลองผิดลองถูก
Kinesis รูปพารามีเซียม Kinesis Taxis Schooling
1.2 Taxis พฤติกรรมการเคลื่อนที่เข้าหาสิ่งเร้า อย่างมีทิศทางที่แน่นอน เช่น หนอนแมลงวัน, เห็บ, ยุง - สัตว์จะต้องมี Sensory receptor ที่เหมาะสมกับสิ่งเร้า - ช่วยให้ให้สัตว์หาตำแหน่งของบ้านได้ถูกต้อง
การบินเข้าหาแสงไฟของแมลงดานาในเวลากลางคืน การเคลื่อนที่หนีแสงสว่าง แต่เข้าหาความมืดของหนอนแมลงวัน การเคลื่อนที่เข้าหาแสงสว่างของเห็บ(Ixodes ricinus) การเคลื่อนที่ของพลานาเรียเข้าหาแสงและเข้าหาอาหาร การเคลื่อนที่เข้าหาหรือออกจากวัตถุ โดยใช้แสงเป็นเข็มทิศ ยกตัวอย่างเช่นผึ้ง มด โดยใช้ดวงอาทิตย์เป็นเข็มทิศ การบินตรงเข้าหาดวงอาทิตย์ ขณะหนีศัตรูของผีเสื้อ grayline betterflies การเคลื่อนที่เข้าหาหรือหนีออกจากแรงดึงดูดโลกของวงชีวิตผีเสื้อ การเคลื่อนที่เข้าหาหรือหนีออกจากเสียง(phonotaxis) เข้าหาได้แก่จิ้งหรีดและหนีได้แก่ผีเสื้อหนีเสียงอุลต้าโซนิค
การบินเข้าหาแสงสว่างของแมลงเม่า การบินของค้างคาวเข้าหาแหล่งอาหาร ผีเสื้อกลางคืนบินเข้าหาแสง ท่าการว่ายน้ำของปลา การที่กบตัวเมียว่ายน้ำเข้าหาเสียงกบตัวผู้เพื่อผสมพันธุ์ ลูกไก่วิ่งเข้าหาเสียงร้องของแม่ไก่
พฤติกรรมแบบรีแฟลกซ์ (Reflex arcs) ตอบสนองสิ่งเร้า รวดเร็ว หลีกเลี่ยงอันตราย ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย เกี่ยวข้องกับระบบประสาทส่วนกลาง การกระพริบตา การกระตุกเท้าหนีตะปู การกระตุกหัวเข่า การบิดตัวหนีปลายเข็มของไส้เดือน การไอการจามของคน สาระสำคัญ พบในสัตว์แทบทุกชนิด รวมทั้งคนด้วย พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาท ไม่ต้องมีการเรียนรู้
พฤติกรรมแบบรีแฟลกต่อเนื่อง(chain of reflexes) มีแบบแผนแน่นอนในสัตว์แต่ละสปีชีส์ มีผลมาจากกรรมพันธุ์ มากกว่าสิ่งแวดล้อม เกิดจาก simple reflex + simple reflex * เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากรีแฟลกซ์สามารถไปกระตุ้นรีแฟลกซ์อื่นๆของระบบประสาทให้ทำงานทำให้เกิดพฤติกรรย่อยๆหลายพฤติกรรม
การสร้างรังของนก การชักใยของแมงมุม การแทะมะพร้าวของกระรอก การฟักไข่และการเลี้ยงลูกอ่อนของไก่ พฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีของสัตว์ การปกป้องอาณาบริเวณที่ได้รับการคุ้มครองของกิ้งก่า การสร้างปลอกหุ้มไขของแมงมุม การสร้างรังและหาอาหารมาไว้ในรังของพวกต่อและหมาล้า การดูดนมของทารกการค้นหาหัวนมของแม่และการดูดนมของลูกปลาวาฬ การเต้นรำของผึ้ง การนำไข่กลับรังของห่านเกรย์แลก การจำศีลของสัตว์ เช่น กบและหมีขั้วโลก และการอพยพย้ายถิ่นของสัตว์ การกำสิ่งของในมือเด็ก
การใช้ลิ้นตวัดจับแมงของคางคก การสร้างรังของนก การชักใยของแมงมุม การใช้ลิ้นตวัดจับแมงของคางคก
การดูดนมของลูกปลาวาฬ การว่ายน้ำของปลาวาฬ การเต้นรำของผึ้ง การดูดนมของลูกปลาวาฬ
การนำไข่กลับรังของห่านเกรย์แลก การเกี้ยวพาราสีของปลาสติกเกิลสามหนาม
สาระสำคัญ สามารถดำรงชีวิตและดำรงเผ่าพันธุ์ไว้ได้ สามารถแสดงพฤติกรรมออกมาได้ แม้จะเลี้ยงแยกสปีชีส์ เปลี่ยนแปลงตามสภาพแวดล้อมและประสบการณ์ แมลงมีพฤติกรรมแบบรีแฟลกซ์ต่อเนื่องมากที่สุด
Learning เป็นการเพิ่ม fitness (การอยู่รอดและสืบพันธุ์) ให้แก่สัตว์ Learned Behavior Learning เป็นการเพิ่ม fitness (การอยู่รอดและสืบพันธุ์) ให้แก่สัตว์ พฤติกรรมที่ต้องอาศัยประสบการณ์ที่มีในอดีตมาปรับปรุงในพฤติกรรมที่เกิดขึ้น แบ่งออกได้ หลายแบบ ดังนี้
1. Imprinting (ความฝังใจ): การเรียนรู้ที่จำกัดโดยเวลา เป็นพฤติกรรมที่สัตว์สามารถจดจำและผูกพันกับแม่หรือพ่อได้ พฤติกรรมความฝังใจนี้จะเป็นการทำงานร่วมกันระหว่างกรรมพันธุ์และการเรียนรู้ โดยกรรมพันธุ์จะเป็นตัวกำหนดช่วงเวลาที่จำเป็น ซึ่งจะเกิดความฝังใจขึ้น ส่วนการเรียนรู้ความผูกพันระหว่าง สัตว์กับพ่อแม่หรือวัตถุที่จะทำให้เกิดความฝังใจขึ้น
Imprinting
การเดินตามวัตถุแรกที่เคลื่อนที่ได้และส่งเสียงได้ของลูกสัตว์ เช่น ลูกนก ลูกห่าน ลูกวัว ลูกควาย หลังจากฝักออกจากไข่หรือหลังคลอดแล้ว และเดินได้แล้ว การฝังใจต่อกลิ่นต่อพืชชนิดหนึ่งที่แมลงหวี่ฟักออกจากไข่ที่แม่แมลงหวี่วางไข่ทิ้งไว้ การฝังใจที่เกิดจากการได้ยินเสียงของลูกเป็ด การฝังใจที่เกิดจากกลิ่นในปลาแซลมอน การผสมพันธุ์ของสัตว์ในสปีชีส์เดียวกัน การเกี้ยวพาราสีของนกในต่างสปีชีส์ การเดินไปกอดวัตถุที่อ่อนนุ่มและมีขวดนมของลูกลิงชิมแพนซี
2. Habituation (ความเคยชิน)
การหลบของลูกนก ต่อสิ่งที่บินอยู่เหนือหัว การหนีของกา ที่มีต่อหุ่นไล่กา กบที่เลี้ยงไว้ในบ่อ สุนัขที่เลี้ยงไว้ในบ้าน ที่ใกล้สนามบิน ในเวลาสงคราม เมื่อมีการเปิดสัญญานเตือนภัย นกที่สร้างรังอยู่ริมถนน หรือหากินตามแหล่งถนน การฝ่าสัญญาไฟแดงของนักขับรถ การกินอาหารสุกๆ ดิบๆ การที่คางคกตวัดลิ้นจับแมลงทุกชนิดที่ผ่านหน้า การหนีเรียน การโดดเรียน การนอนในเวลาเรียน การหนีเที่ยว การโกหกครู/อาจารย์
3.Conditioning (การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข) เป็นพฤติกรรมที่สิ่งเร้าตัวหนึ่งเข้าแทนสิ่งเร้าที่ แท้จริง (สิ่งเร้าเดิม) แล้วชักนำให้เกิดการตอบสนอง ชนิดเดียวกัน ตัวอย่าง หมา + เนื้อ( Stimulus I ) น้ำลายไหล หมา + เสียงกระดิ่ง + เนื้อ( Stimulus II ) น้ำลายไหล หมา + เสียงกระดิ่ง น้ำลายไหล
พฤติกรรมการมีเงื่อนไข ในการตอบสนองของสุนัข supreecha swpy 2006
พฤติกรรมการมีเงื่อนไข ในการกดบาร์ของหนูเพื่อได้อาหาร supreecha swpy 2006
พฤติกรรมการมีเงื่อนไข ในการกินแมลงปอ แมลงรอบเบอร์และผึ้ง
การที่เด็กไม่กินผักสีเขียวหั่นฝอยที่โรยบนอาหาร เพราะคิดว่าเป็นต้นหอมที่เขาไม่กิน การฝึกสัตว์ให้แสดงพฤติกรรมที่เราต้องการ โดยการให้รางวัลและการลงโทษ การเห็นภาพวิวทิวทัศน์แล้วทำให้เกิดความสุข การได้ยินคำว่า มะม่วง หรือ มะยมแล้วทำให้เกิดน้ำลายไหล การฝึกหนูให้กระโดดหนีเมื่อหลอดไฟสว่าง
4. Trial and Error : (การลองผิดลองถูก) ซับซ้อนมากกว่า Habituation เป็นพฤติกรรมที่สัตว์แสดงออกโดยบังเอิญ แล้วถ้าได้รางวัลก็จะชักนำให้ทำพฤติกรรมเช่นนั้นอีก : การตอบสนอง (Response) ถูกต้องทำให้อยู่รอดและประสบผลสำเร็จในการสืบพันธุ์ - Reward (ให้รางวัล) - Punishment (การลงโทษ)
การเคลื่อนที่แบบลองผิดลองถูกของไส้เดือน ในกล่องพลาสติกที่มีความมืดและชื้น การเคลื่อนที่ของมดในทางวกวน การเคลื่อนที่ของหนูในเขาวงกต ความพยายามของสุนัขที่จะไปกินอาหาร โดยมีเชือกอ้อมเสาไม้อยู่
5. Insight Learning (การรู้จักใช้เหตุผล) : เกิดในพวก Primates เป็นพฤติกรรมที่มีการดัดแปลงมาจากการลองผิดลองถูก โดยการเรียนรู้นี้จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วโดยสัตว์ตอบสนองได้ถูกต้องเลยในครั้งแรก สรุป Fixed-action pattern Insight (Innate) (Learned) มีเป้าหมาย เพิ่มโอกาสอยู่รอด + โอกาสสืบพันธุ์
การแก้เชือกของกาที่ผูกอาหารไว้ การใช้ไม้สอยกล้วยที่อยู่ที่สูงโดยใช้ลังต่อกัน
พฤติกรรมที่พบในสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมทางสังคม Communication 1. Sound (การสื่อสารโดยใช้เสียง) เสียงของสัตว์ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและก่อให้เกิดการตอบสนองถือว่าเป็นการเรียนรู้อย่างหนึ่ง
การสื่อสารด้วยเสียงมีจุดมุ่งหมายคล้ายกันดังนี้ ใช้ในการบอกชนิดสัตว์ ซึ่งอยู่ในสปีชีส์เดียวกัน ใช้บอกเพศว่าเป็นเพศผู้หรือเพศเมีย บอกตำแหน่งตนเองให้ทราบว่าอยู่จุดใด เป็นการประกาศเขตแดนให้สัตว์ตัวอื่นๆรู้ บอกสัญญาณเตือนภัยหรือข่มขู่ บอกความรู้สึกต่างๆและเกี้ยวพาราสี
เสียงมีความหมายที่แตกต่างกันออกไปคือ เสียงเรียกติดต่อ (contact calls) เสียงเรียกเตือนภัย (warning calls) เสียงเรียกคู่ (mating calls) เสียงเรียกกำหนดสถานที่ของวัตถุ (echolocation)
Communication 2. Visual Signal (การสื่อสารโดยใช้ท่าทาง) ตัวอย่าง Bee Language
การสื่อสารของผึ้ง 1. การเต้นรำ * แบบวงกลม (round dance) - อาหารอยู่ใกล้ ประมาณ 50 เมตร ไม่เกิน 80 เมตร * แบบเลข 8 (wagging dance) - อาหารอยู่ไกล เกิน 80 เมตร ขึ้นไป 2. การส่ายท้อง - อาหารอยู่ไม่ไกล อัตราการเต้นรำแบบส่ายท้องจะเร็วและสั้น - อาหารอยู่ไกล อัตราการเต้นรำแบบส่ายท้องจะช้าและนาน
Communication 3. Chemical Communication (การสื่อสารโดยใช้สารเคมี) เช่น การปล่อยฟีโรโมน
ฟีโรโมน (pheromone) ฟีโรโมนที่ทำให้เกิดพฤติกรรมทันที(releaser pheromone) เช่นสารดึงดูดเพศตรงข้าม ได้แก่ ฟีโรโมนที่ผีเสื้อไหมตัวเมียปล่อยออกมาเพื่อดึงดูดความสนใจของผีเสื้อตัวผู้ ฟีโรโมนที่ไม่ทำให้เกิดพฤติกรรมทันที(primer pheromone) เช่น ฟีโรโมนของหนูตัวผู้ปล่อยออกมาชักนำให้หนูตัวเมีย เป็นสัดและพร้อมที่จะผสมพันธุ์
ประเภทฟีโรโมน ฟีโรโมนเพศ (sex pheromone) เช่น ผีเสื้อไหม ฟีโรโมนปลุกระดม (aggregation pheromone) เช่นด้วงที่ทำลายเปลือกไม้ ฟีโรโมนเตือนภัย (alarm pheromone) เช่น ผึ้ง ฟีโรโมนตามรอย (trail pheromone) เช่น สุนัข ฟีโรโมนนางพณา (queen-substance pheromone) เช่นแมลงสังคม ได้แก่ มด ผึ้ง ต่อ แตน ปลวก
Communication 4. Physical Communication (การสื่อสารโดยการสัมผัส) เช่น การสัมผัสเป็นสื่อเพื่อขออาหาร ของลูกนกนางนวลบางชนิด โดยใช้จงอยปากจิกที่จุดสีแดงบริเวณจงอยปากของแม่เพื่อกระตุ้นให้แม่ไปหาอาหารมาให้
Communication 5. luminous Communication (การสื่อสารโดยใช้รหัสแสง) ตัวอย่าง สัตว์ที่อาศัยอยู่ในทะเลลึก และหิ่งห้อยโดยเกิดกระบวนการ bioluminescence ดังนี้ Luciferase (E) Luciferin (L) + O2 E - L E + L + hv (แสง)