อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

สมดุลเคมี.
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
ปฏิกิริยาการเตรียม Amines
ทบทวนเรื่องความเสถียรของอัลคีน
3. Hinzberg test เป็นปฏิกิริยาของ Amines
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
สารกระตุ้นสมรรถภาพการผลิต
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ชัยวัฒน์ เชื้อมั่ง เคมีไฟฟ้า.
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
เคมีไฟฟ้า(Electrochemistry)
ว เคมีพื้นฐาน ตารางธาตุ
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2559 อาหาร สิ่งแวดล้อม เคมี ฟิสิกส์ สอบเทียบ.
ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Element)
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
การประเมินผล ระหว่างภาค : ปลายภาค = 70: 30
Introduction to Electrochemistry
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
กรด-เบส Acid-Base.
ไฟฟ้าเคมี ชุดที่ 2 อ.ศราวุทธ
Periodic Table ตารางธาตุ.
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
เคมีเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๘
แบบจำลองอะตอมทอมสัน แบบจำลองอะตอมดอลตัน แบบจำลองอะตอมโบร์
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
ธาตุอาหารพืช (Plant Nutrient).
สมดุลเคมี (Chemical Equilibrium)
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
(Introduction to Soil Science)
การจำแนกสาร ครูปฏิการ นาครอด.
(Introduction to Soil Science)
รายการวัสดุอ้างอิง (RM) และตัวอย่างควบคุม (Qc sample) สำหรับห้องปฏิบัติการ NOTE: To change the image on this slide, select the picture and delete it.
ดร. อุษารัตน์ รัตนคำนวณ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Periodic Atomic Properties of the Elements
กรด - เบส ครูกนกพร บุญนวน.
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
นางสาวเพ็ญศรี ท่องวิถี นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ
ทฤษฎีกรด-เบส โดย อาจารย์ วิชัย ลาธิ.
พันธะเคมี (Chemical Bonding).
/ Soil Fertility and Plant Nutrition
การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
โภชนาการ เด็กวัยเรียน สิรภัทร สาระรักษ์ ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี
กิจกรรมที่7 บทบาทของโลหะทองแดงในปฏิกิริยา
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
ตารางธาตุ.
122351/ Soil Fertility and Plant Nutrition
สมบัติของ สารละลายกรดเบส
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
เลขออกซิเดชัน 5. ธาตุออกซิเจนในสารประกอบทั่วไปจะมีเลขออกซิเดชัน -2
วัฏจักรสารในระบบนิเวศ
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2562
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
นิยาม แรงลอยตัว คือ ผลต่างของแรงที่มาดันวัตถุ
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
X สัญลักษณ์นิวเคลียร์ A Z
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชา ว21101
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์ ไฟฟ้าเคมี อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์

ไฟฟ้าเคมี ไฟฟ้าเคมี (Electrochemistry) หมายถึง สาขาของวิชาเคมีที่ศึกษาเกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้าทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี และการเปลี่ยนแปลงทางเคมีทำให้เกิดไฟฟ้า ปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี (Electrochemical reaction) เป็นปฏิกิริยาที่เกี่ยวกับการถ่ายโอนอิเล็กตรอน โดยเปลี่ยนแปลงพลังงานเคมีเป็นไฟฟ้า หรือให้กระแสไฟฟ้าแล้วทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมี

ไฟฟ้าเคมี เลขออกซิเดชัน (Oxidation number) คือ ค่าที่นักเคมีกำหนดขึ้นเพื่อแสดงถึงค่าประจุไฟฟ้า หรือประจุไฟฟ้าสมมติของไอออน หรืออะตอมของธาตุ โดยมีกฎดังนี้ ธาตุอิสระทุกชนิดที่อยู่ในรูปอะตอมหรือโมเลกุล มีเลขออกซิเดชัน = 0 เช่น Ca , Na , Zn , He , O2 และ S8 โลหะหมู่ 1A, 2A และ 3A มีเลขออกซิเดชัน = +1, +2 และ +3 ตามลำดับ เช่น Na+ , Ca2+ , Al3+ เป็นต้น ไฮโดรเจน (H) มีเลขออกซิเดชัน 2 ค่า คือ +1 และ –1 โดย ในสารประกอบโคเวเลนต์ H มีค่า +1 เช่น HCl , HBr ในสารประกอบไอออนิก H มีค่า –1 เช่น LiH , NaH

ไฟฟ้าเคมี ฟลูออรีน (F) มีเลขออกซิเดชันเป็น –1 เสมอ สารประกอบใดๆก็ตาม ธาตุที่มีค่า EN สูงกว่าจะแสดงประจุลบ ออกซิเจนในสารประกอบทั่วไปมีเลขออกซิเดชัน = –2 เช่น H2O ยกเว้นสารประกอบเปอร์ออกไซด์ (O = –1) เช่น H2O2 และสารประกอบซุปเปอร์ออกไซด์ (O = –1/2) เช่น KO2 เลขออกซิเดชันจะมีค่าเป็นจำนวนเต็มบวก จำนวนเต็มลบ หรือเป็นเศษส่วนก็ได้ เลขออกซิเดชันของสารประกอบใดๆก็ตาม รวมกันจะมีค่า เท่ากับ 0 ไอออนใดๆก็ตาม เลขออกซิเดชันรวมจะเท่ากับไอออนที่ปรากฏอยู่ เช่น SO42– มีประจุ –2 ผลรวมของเลขออกซิเดชันของ SO42– จึงเท่ากับ –2

ไฟฟ้าเคมี จงหาเลขออกซิเดชันของ Mn ในเปอร์แมงกาเนตไอออน จงหาเลขออกซิเดชันของ S ในสารประกอบ K2SO4 , SO2 , SO3 , H2S และ S2-

ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยาระหว่างโลหะสังกะสีกับสารละลาย CuSO4 Zn(s)  Zn2+(aq) + 2e- …….(1) Cu2+(aq) + 2e-  Cu(s) …….(2)

ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยาระหว่างโลหะสังกะสีกับสารละลาย CuSO4

ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยารีดอกซ์ คือ ปฏิกิริยาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน หรือปฏิกิริยาที่มีการให้และรับอิเล็กตรอน ปฏิกิริยารีดอกซ์ ประกอบด้วย 2 ปฏิกิริยา คือ 1. ปฏิกิริยาออกซิเดชัน 2. ปฏิกิริยารีดักชัน

ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยารีดอกซ์ (Redox reaction) ประกอบด้วย 2 ปฏิกิริยา คือ  ปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Oxidation reaction) เป็นปฏิกิริยาที่มีการให้อิเล็กตรอน สารที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน เรียกว่า ตัวรีดิวซ์ หรือ ตัวถูกออกซิไดซ์ (Reducing agent) สารที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันจะมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น เช่น Cu (s) Cu2+ (aq) + 2e– เลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้นจาก 0 เป็น +2

ปฏิกิริยารีดอกซ์  ปฏิกิริยารีดักชัน (Reduction reaction) เป็นปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็กตรอน สารที่เกิดปฏิกิริยารีดักชัน เรียกว่า ตัวออกซิไดซ์ หรือ ตัวถูกรีดิวซ์ (Oxidizing agent) สารที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันจะมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น เช่น Fe2+ (aq) + 2e– Fe (s) เลขออกซิเดชันลดลงจาก +2 เป็น 0

ปฏิกิริยารีดอกซ์ เมื่อรวม 2 ปฏิกิริยาเข้าด้วยกัน จะได้ปฏิกิริยารีดอกซ์ เมื่อรวม 2 ปฏิกิริยาเข้าด้วยกัน จะได้ปฏิกิริยารีดอกซ์ Cu (s) Cu2+ (aq) + 2e– ; Oxidation reaction Fe2+ (aq) + 2e– Fe (s) ; Reduction reaction Cu (s) + Fe2+ (aq) Cu2+ (aq) + Fe (s) ; Redox reaction เทคนิคการดูปฏิกิริยาออกซิเดชัน – รีดักชัน Oxidation reaction Reduction reaction ลักษณะปฏิกิริยา ให้ e– รับ e– สารที่เกิดปฏิกิริยา ตัวรีดิวซ์ ตัวออกซิไดซ์ เลขออกซิเดชัน เพิ่มขึ้น ลดลง

ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยาที่สารหนึ่งให้อิเล็กตรอนแล้วมีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น เรียกว่า ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ปฏิกิริยาที่สารหนึ่งรับอิเล็กตรอนแล้วมีเลขออกซิเดชันลดลง เรียกว่า ปฏิกิริยารีดักชัน

ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยารีดอกซ์ Zn(s) + Cu2+(aq)  Zn2+(aq) + Cu(s) +2 +2 Zn(s) + Cu2+(aq)  Zn2+(aq) + Cu(s) ปฏิกิริยาออกซิเดชัน ปฏิกิริยารีดักชัน Zn(s)  Zn2+(aq) + 2e- Cu2+(aq) + 2e-  Cu(s) ตัวรีดิวซ์ / ถูกออกซิไดซ์ ตัวออกซิไดซ์ / ถูกรีดิวซ์

ปฏิกิริยารีดอกซ์ ลำดับในความสามารถในการให้ และรับอิเล็กตรอนของโลหะบางชนิด

ปฏิกิริยารีดอกซ์ ตัวอย่าง จงพิจารณาว่าปฏิกิริยาใดต่อไปนี้ เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์

ปฏิกิริยารีดอกซ์ ตัวอย่าง จงเขียนสมการแสดงครึ่งปฏิกิริยาที่เป็นปฏิกิริยาออกซิเดชัน และครึ่งปฏิกิริยาที่เป็นปฏิกิริยารีดักชันของปฏิกิริยารีดอกซ์ที่กำหนดให้ พร้อมทั้งระบุตัวออกซิไดส์ และตัวรีดิวซ์

ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยาออกซิเดชัน คือ______________________________________ ปฏิกิริยารีดักชัน คือ__________________________________________ ตัวออกซิไดส์ คือ____________________________________________ ตัวรีดิวซ์ คือ________________________________________________

ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยาออกซิเดชัน คือ______________________________________ ปฏิกิริยารีดักชัน คือ__________________________________________ ตัวออกซิไดส์ คือ____________________________________________ ตัวรีดิวซ์ คือ________________________________________________

ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยาออกซิเดชัน คือ______________________________________ ปฏิกิริยารีดักชัน คือ__________________________________________ ตัวออกซิไดส์ คือ____________________________________________ ตัวรีดิวซ์ คือ________________________________________________