สาขาการพัฒนาเครือข่าย สุขภาพอำเภอและบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
LOGO “ Add your company slogan ” แผนปฏิบัติการ ประจำปี ของสถานศึกษา ดร. จิมมี่ ทองพิมพ์ ณ โรงแรมสยามริ เวอร์ รีสอร์ท รายละเอียดเพิ่มเติม
Advertisements

นายรังสรรค์ ศรีล้วน สรุปผลการดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ 2558 ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี
แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กระทรวงสาธารณสุข
บริษัท จำกัด Logo company
ทิศทางการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2561
ที่มาของระบบคุณภาพ ISO 9000
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
Buriram Public Health ทำไมต้องตั้งค่าและจัดการข้อมูลสะสม
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
แนวทางการให้บริการวัคซีน Rota
การส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และการป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
หน่วยที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
วาระประชุมเดือนกันยายน 2559
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ 2550
บริษัท จำกัด Logo company
เป้าหมาย SP สุขภาพจิต # ดูแลตนเองได้ # ครอบครัว/ชุมชน #ลดความรุนแรง
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการสอน สถานการณ์ปัญหาที่ 1
วิชา วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based รอบที่ 1
เทคนิคการวิเคราะห์ความเหมาะสมของโครงการ และแนวทางการติดตามประเมินผลสำเร็จของ ชุดโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะ ที่ต้นทาง ชุดที่ ๓ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.
การเชื่อมภาคีเครือข่ายในการขับเคลื่อน
สถิติชีพและสถานะสุขภาพ พื้นที่เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๑๒
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
มีจำนวน 1 โครงการ ลำดับ ประเภทกิจกรรม จำนวนเงิน งบประมาณ ที่ใช้ไป
เป้าหมายการพัฒนางานวัยรุ่น ปี 2560
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
การบริการพื้นฐานของห้องสมุด
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
การบันทึกข้อมูล Social Risk ใน HDC
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
การพัฒนาคุณภาพข้อมูลสุขภาพ จังหวัดสระแก้ว
แผนการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัวจังหวัดสตูล ปี
ข้อมูลและสารสนเทศ.
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
ประชุมชี้แจงเตรียมความพร้อม ปีงบประมาณ 2559
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
การบริหารและขับเคลื่อน
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิด ของเจ้าหน้าที่
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2560
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
ข้อมูลและสารสนเทศ.
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต.
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
1.1 การตายที่ระบุสาเหตุ ไม่ชัดแจ้ง <= 25 % ของการตายทั้งหมด
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
โครงการคลินิกโรคจากการทำงาน
สถานการณ์และผลการดำเนินงาน
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
บทบาทของกรมการปกครองกับ กระบวนการยุติธรรมทางเลือก (Alternatives to Justice) โดย..วรวิทย์ ยอแสงนอ
การเขียนรายงานเชิงวิชาการ
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
เข้าใจและสามารถปฏิบัติตนตามหลักธรรม ที่เกี่ยวเนื่องกับอริยสัจ 4
มีจำนวน 8 โครงการ ลำดับ ประเภทกิจกรรม จำนวนเงิน งบประมาณ ที่ใช้ไป
การดำเนินกิจการ ของสหกรณ์ออมทรัพย์.
การปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑ จังหวัดสกลนคร ครั้งที่ ๑
เสนอขอรับทุนท้าทายไทยและโครงการวิจัยตอบสนองนโยบาย
โปรแกรม District Health Data Center เพื่อการบริหารจัดการข้อมูล 43 แฟ้ม ระดับอำเภอ และ CUP ( DHDC ) 25 – 26 กรกฎาคม 2561 ห้องประชุม สำนักงานสาธาณสุขจังหวัดลำพูน.
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ไตรมาสที่ ๒ (มกราคม-มีนาคม๒๕๕๗)
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาขาการพัฒนาเครือข่าย สุขภาพอำเภอและบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2 นพ.สมศักดิ์ นุกูลอุดมพานิชย์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย 12 พฤษภาคม 2559

Data, Information, Evidence Health Needs Service Gap Designed Sevice Contents Data, Information, Evidence Health Needs Service Gap Designed Sevice

1. Data, Information, Evidence

ประชุมระดมสมองคณะทำงานพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2 ประชุมระดมสมองคณะทำงานพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2 ครั้งที่ 2 วันที่ 4 พฤษภาคม 2559 ณ ห้องประชุม 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย

ประชากร จำนวนประชากร ปี 59 รวม 3,539,860 คน 996,485 คน 459,611 คน 601,504 คน 618,966 คน 863,294 คน 996,485 คน จากข้อมูล HDC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2559

ประชากร จากข้อมูล HDC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2559

ประชากร จากข้อมูล HDC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2559

ร้อยละของเด็กอายุ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน OPV3, M/MMR ปี 2559 90% จากข้อมูล HDC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2559

ร้อยละของเด็กอายุ 2 ปีที่ได้รับวัคซีน OPV4, JE ปี 2559 90% จากข้อมูล HDC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2559

ร้อยละของเด็กอายุ 5 ปีที่ได้รับวัคซีน DTP5, OPV5 ปี 2559 90% จากข้อมูล HDC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2559

อัตราการคัดกรอง และอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเรื้อรัง อัตราการคัดกรอง และอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูง จากข้อมูล HDC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2559

อัตราการคัดกรอง และอัตราป่วยโรคเบาหวาน โรคเรื้อรัง อัตราการคัดกรอง และอัตราป่วยโรคเบาหวาน จากข้อมูล HDC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2559

อัตราผู้ป่วย DM,HT ได้รับการคัดกรองโรคไตเรื้อรัง โรคเรื้อรัง อัตราผู้ป่วย DM,HT ได้รับการคัดกรองโรคไตเรื้อรัง จากข้อมูล HDC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2559

โรคเรื้อรัง จากข้อมูล HDC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2559

โรคเรื้อรัง จากข้อมูล HDC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2559

อัตราป่วยโรคมะเร็งปากมดลูก และ มะเร็งเต้านม ต่อ แสนประชากร www.themegallery.com อัตราป่วยโรคมะเร็งปากมดลูก และ มะเร็งเต้านม ต่อ แสนประชากร Company Logo

สถิติโรค สาเหตุการตาย 5 อันดับ เขตสุขภาพที่ 2 ปี 2559 ลำดับ ชื่อโรค จำนวน (ราย) 1 หัวใจล้มเหลว 1,296 2 การติดเชื้อในกระแสเลือด 226 3 ความผิดปกติของระบบหายใจ ไม่ระบุรายละเอียด 182 4 ความดันโลหิตสูงไม่ทราบสาเหตุ (ปฐมภูมิ) 171 5 มะเร็งเซลล์ตับ 163 จากข้อมูล HDC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2559

สถิติโรค สาเหตุการป่วยผู้ป่วยนอก 5 อันดับ เขตสุขภาพที่ 2 ปี 2559 ลำดับ ชื่อโรค จำนวน (ราย) 1 ความดันโลหิตสูงที่ไม่มีสาเหตุนำ 14,347,196 2 การติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนบน แบบเฉียบพลันอื่น ๆ 11,140,120 3 เบาหวาน 10,884,214 4 เนื้อเยื่อผิดปกติ 9,424,240 5 คออักเสบเฉียบพลันและต่อมทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน 5,976,513 จากข้อมูล HDC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2559 ที่มา : สำนักทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย 

สถิติโรค สาเหตุการป่วยผู้ป่วยใน 5 อันดับ เขตสุขภาพที่ 2 ปี 2559 ลำดับ ชื่อโรค จำนวน (ราย) 1 ปอดบวม 9,578 2 ต้อกระจกและความผิดปกติของเลนส์อื่น ๆ 6,382 3 โลหิตจางอื่น ๆ 5,198 4 โรคหลอดลมอักเสบ ถุงลมโป่งพองและปอดชนิดอุดกั้นแบบเรื้อรังอื่น 5,065 5 การบาดเจ็บระบุเฉพาะอื่น ๆ ไม่ระบุเฉพาะและหลายบริเวณในร่างกาย 4,488 จากข้อมูล HDC ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2559 ที่มา : สำนักทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย 

อัตรากำลังบุคลากรปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2 www.themegallery.com อัตรากำลังบุคลากรปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2 จังหวัด NP RN นวก.สาธารณสุข นักแพทย์แผนไทย ทันตา จพ.สธ./อื่นๆ รวม ภิบาล อุตรดิตถ์ 101 25 146 13 21 133 439 ตาก 102 28 149 3 31 194 507 สุโขทัย 175 210 10 44 115 567 พิษณุโลก 229 180 4 49 222 684 เพชรบูรณ์ 184 24 238 11 69 224 750 791 90 923 41 214 888 2947 Company Logo

ข้อมูลหน่วยบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2 www.themegallery.com ข้อมูลหน่วยบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2 จังหวัด ศสม. PCU รพ./อปท. รพ.สต. รวม อุตรดิตถ์ 3 8 89 100 ตาก 12 110 125 สุโขทัย 4 10 115 129 พิษณุโลก 2 147 159 เพชรบูรณ์ 153 167 14 52 614 680 Company Logo

ปัญหาและอุปสรรค ประชาชนเขตเมืองได้รับการดูแลสุขภาพ ไม่ครอบคลุม ไม่ครบถ้วน กระจายบุคลากรไม่สอดคล้องกับการให้บริการ บทบาท หน้าที่ รพ.สต.แม่ข่าย ไม่ชัดเจน ขาดการ Monitor&Evaluation การนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผน การแก้ปัญหาน้อย ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมน้อย

2. Health Needs

ระดับหน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2 ระดับหน่วยบริการปฐมภูมิ จำนวน(แห่ง) P1 ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง 14 P2 รพ.สต.ขนาดใหญ่/รพ.สต.เดี่ยว /รพ.สต.แม่ข่าย 353 P3 รพ.สต.ลูกข่าย 313

กำหนดศักยภาพการให้บริการปฐมภูมิ ตามระดับ หน่วยบริการปฐมภูมิ ศักยภาพการบริการ ศูนย์สุขภาพเขตเมือง P1 1. บริการเชิงรุก / เชิงรับ 5 ด้าน และ บริการเยี่ยมบ้าน 2. บริการเพิ่มขึ้นตามศักยภาพ 1. การตรวจวินิจฉัยโรค โดย แพทย์ 2. การให้บริการทันตกรรม โดย ทันตแพทย์ 3. การบริการผู้ป่วยโรคเรื้อรังแบบบูรณาการ 4. การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย/ผู้สูงอายุ /ผู้พิการ 5. การให้บริการCounselling 6. การให้บริการแพทย์แผนไทย/กายภาพ 7. การคัดกรองทางกายและทางจิต 8. การให้บริการกลุ่มแม่และเด็ก /พัฒนาการเด็ก

กำหนดศักยภาพการให้บริการปฐมภูมิ ตามระดับ หน่วยบริการปฐมภูมิ ศักยภาพการบริการ รพ.สต.ขนาดใหญ่ / รพ.สต.เดี่ยว/ รพ.สต.แม่ข่าย P2 1. บริการเชิงรุก / เชิงรับ 5 ด้าน และบริการเยี่ยมบ้าน 2. บริการเพิ่มขึ้นตามศักยภาพ 1. บริการผู้ป่วยโรคเรื้อรังแบบบูรณาการ 2. การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย/ผู้สูงอายุ /ผู้พิการ 3. การให้บริการ Counselling 4. การคัดกรองทางกายและทางจิต 5. การให้บริการทันตกรรม(ขูดหินปูน/อุดฟัน/ถอนฟัน) 6. การให้บริการแพทย์แผนไทย/กายภาพ 7. การให้บริการกลุ่มแม่และเด็ก/พัฒนาการเด็ก

กำหนดศักยภาพการให้บริการปฐมภูมิ ตามระดับ หน่วยบริการปฐมภูมิ ศักยภาพการบริการ รพสต.ลูกข่าย P3 1. บริการเชิงรุก / เชิงรับ 5 ด้าน และบริการเยี่ยมบ้าน 2. บริการเพิ่มขึ้นตามศักยภาพ 1. บริการผู้ป่วยโรคเรื้อรังแบบบูรณาการ 2. การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย/ผู้สูงอายุ /ผู้พิการ 3. การให้บริการ Counselling 4. การคัดกรองทางกายและทางจิต 5. การให้บริการกลุ่มแม่และเด็ก/พัฒนาการเด็ก

Health Needs He เพิ่มการเข้าถึงบริการของประชาชนเขตเมือง เพิ่มการกระจายบุคลากร จัดการระบบสารสนเทศอย่างมีระบบ พัมนาส่วนร่วมภาคีเครือข่าย บทบาท หน้าที่ รพ.สต.แม่ข่าย ไม่ชัดเจน พัฒนาระบบ Monitor&Evaluation Service Gap Sevice Deliveryข

3. Service Gap

วิเคราะห์สถานการณ์บริการปฐมภูมิ Service Gap Data 1. การเข้าถึงบริการของประชาชนเขตเมือง 1. ประชาชน เขตเมือง ไม่ได้รับการดูแลสุขภาพตาม มิติการ ส่งเสริม ป้องกัน และการฟื้นฟูสมรรถภาพ 2. การกระจายบุคลากรด้านสาธารณสุข การกระจายบุคลากรไม่สอดคล้องกับศักยภาพการให้บริการในแต่ละระดับ บทบาทหน้าที่ของ รพ.สต.แม่ข่าย(Node) ไม่ชัดเจน

วิเคราะห์สถานการณ์บริการปฐมภูมิ Service Gap Data 3. ระบบข้อมูลสารสนเทศ 1. ขาดการบันทึกข้อมูล ของเจ้าหน้าที่ 2. ไม่มีการMonitor & Evaluation จากผู้บริหารระดับเครือข่ายสุขภาพอำเภอ 3. ไม่มีการนำข้อมูลด้านสุขภาพไปใช้ในการวางแผนการแก้ไขปัญหา 4. การมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายCommunity Participation 1. การให้ภาคีเครือข่าย เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา ยังพบได้น้อย (ไม่ถึง 20%) ส่วนใหญ่จะเป็นการบริการ รถรับ –ส่งผู้ป่วย และการลงเยี่ยมผู้ป่วยพร้อมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

4. Designed Sevice

Designed Services Service Gap Designed Services 1. การเข้าถึงบริการของ ประชาชนเขตเมือง 1.1.พัฒนาศูนย์สุขภาพชุมชนเขตเมือง/ชนบท ให้มีศักยภาพ 1.2 เร่งรัดการสร้างข้อตกลงและแผนปฏิปัติงานร่วม/ประสานการ ทำงานร่วมกันของภาคีเครือข่าย ในการมีบทบาทดูแลสุขภาพประชาชน พัฒนาให้มีแผนงบประมาณเพื่อรองรับการดำเนินงานที่ชัดเจน 1.3พัฒนาระบบการเยี่ยมบ้าน โดยทีมหมอครอบครัว 1.4 พัฒนาระบบส่งต่อบริการระหว่างหน่วยบริการปฐมภูมิ และหน่วยบริการระดับอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งในพื้นที่เขตเมือง เขตชนบท 1.5 พัฒนาศักยภาพของประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง

Designed Services Service Gap Designed Services 2. การกระจายบุคลากร ด้านสาธารณสุข 2.1 พัฒนาระบบการจัดการตามโครงสร้างศักยภาพ หน่วยบริการปฐมภูมิ 2.2 พัฒนาศักยภาพบุคลากร ให้เหมาะสมกับ ภาระงาน 3. ระบบข้อมูล สารสนเทศ 3.1 พัฒนาระบบสารสนเทศ และฐานข้อมูลเพื่อ การบริหารจัดการ 3.2 จัดระบบการติดตามและประเมินผลระดับ เครือข่าย

Service Gap Designed Services 4. การมีส่วนร่วมจาก ภาคีเครือข่าย Community Participation 4.1 ส่งเสริม สนับสนุน การสร้างข้อตกลง ร่วมกัน ในการจัดบริการปฐมภูมิ(ด้าน ส่งเสริม/ป้องกัน/ฟื้นฟู) 4.2 การประสานการจัดทำแผน ปฏิบัติงาน ร่วมกันระหว่างภาคีเครือข่าย ในการมี บทบาทดูแลสุขภาพประชาชน รวมถึง พัฒนาให้มีแผนงบประมาณเพื่อรองรับ การดำเนินงานที่ชัดเจน

ขอบคุณครับ