แนวทางปฏิบัติการรายงานข้อบกพร่องหรือข้อสังเกตที่ตรวจพบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
แนวทางการบริหารงบประมาณ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการ พลังงาน ว่าด้วยมาตรการป้องกัน แก้ไข และ ติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม สำหรับผู้ได้รับการยกเว้น.
บทที่ 1 ภาพรวมของการสอบบัญชี
กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ระเบียบสำนักงานประกันสังคม ว่าด้วย การคืนเงินให้แก่นายจ้าง หรือ ผู้ประกันตน หรือบุคคลอื่น ในกรณีเงิน ที่รับไว้เป็นเงินไม่พึงชำระแก่กองทุน.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบบการจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตรายที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยารับผิดชอบ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
สหกรณ์ ปี 2560 สหกรณ์ 4,629 สหกรณ์ (65%) ต้อง  สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีส่วนร่วม ในการดำเนินธุรกิจสหกรณ์  สหกรณ์มีเสถียรภาพทางการเงินในระดับ มั่นคงมาตรฐานขึ้นไป.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
หน่วย ตรวจสอบ ภายใน Ready. แนวทางการ ตรวจสอบภายใน  อำนาจหน้าที่  ข้อปฏิบัติ / แนวทาง ปฏิบัติ / ซักซ้อม  ดุลยพินิจ  งบประมาณ  ประโยชน์  โปร่งใส ตรวจสอบได้
นางหทัยรัตน์ หงษ์ทอง ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายบริหาร และพิธีการบิน.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
บัญชีกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน. ประเด็นสำคัญ  การปฏิบัติการเบื้องต้นเกี่ยวกับ การเงินการบัญชี  ขั้นตอนการจัดทำบัญชี  การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ 1. การรับเงินค่าหุ้น.
การอุดหนุน งบประมาณ ให้แก่ สถานศึกษาใน สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้น พื้นฐาน.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
แนวปฏิบัติทางบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2410
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
แนวทางการจัดทำรายงาน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
นายทะเบียนแจ้งผลการจองชื่อ
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
แผนพัฒนาการศึกษาของโรงเรียน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางปฏิบัติการรายงานข้อบกพร่องหรือข้อสังเกตที่ตรวจพบ จากการตรวจสอบบัญชีหรือการกำกับสหกรณ์ หนังสือที่ กษ 0404/ว.75 ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2559 สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 6

ผู้มีหน้าที่กำกับสหกรณ์ นิยาม/ความหมาย ผู้สอบบัญชีสหกรณ์ ผู้สอบบัญชีที่ นทส. แต่งตั้งตาม พรบ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 แบ่งเป็น ผู้สอบบัญชีภาครัฐ และผู้สอบบัญชีภาคเอกชน พนักงานเจ้าหน้าที่ ขรก. กตส. ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ นทส. มอบหมายอำนาจหน้าที่ให้ปฏิบัติการแทน นทส. ตามคำสั่ง นทส. ที่ 14/2558 ลงวันที่ 30 ธ.ค 2558 ผู้มีหน้าที่กำกับสหกรณ์ หตส. หรือ นว.ตบ.ชพ. หรือ นว.ตบ.ชก. ที่ได้รับมอบหมาย ในฐานะพนักงานเจ้าหน้าที่ตามคำสั่ง กษ ที่ 137/2553 ลงวันที่ 11 มี.ค. 53 ปฏิบัติงานตรวจสอบการดำเนินงาน และฐานะการเงินของสหกรณ์ที่สอบบัญชีโดยผู้สอบบัญชี ภาคเอกชนและมีอำนาจปฏิบัติการตามมาตรา 18 แห่ง พรบ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 2

ประเภทข้อบกพร่อง/ข้อสังเกต ลักษณะข้อผิดพลาด ข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงานของสหกรณ์ และ/หรือ การบันทึกบัญชีของสหกรณ์ ข้อสังเกต ไม่มีผลกระทบอย่างมีสาระสำคัญ ต่อผลการดำเนินงานและ ฐานะการเงินของสหกรณ์ หรือยังไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย ข้อบกพร่อง มีผลกระทบอย่างมีสาระสำคัญ ต่อผลการดำเนินงานและ ฐานะการเงินของสหกรณ์ ประเภทข้อบกพร่อง/ข้อสังเกต ข้อบกพร่อง หรือข้อสังเกตทางการบัญชี ข้อบกพร่อง หรือข้อสังเกตทางการเงิน ข้อบกพร่อง หรือข้อสังเกตอื่น 3

ข้อบกพร่อง/ข้อสังเกตทางการบัญชี เกิดจากการที่สหกรณ์ ไม่ปฏิบัติตาม พรบ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 มาตรา 65 และมาตรา 66 1. จัดทำบัญชีไม่เป็นไปตามแบบและรายการที่ นทส. กำหนด 2. จัดทำบัญชีไม่ถูกต้องตามความเป็นจริง 3. บันทึกบัญชีไม่เรียบร้อย ไม่เป็นปัจจุบัน ไม่บันทึกรายการบัญชีเกี่ยวกับเงินสด ในวันที่เกิดรายการนั้น สำหรับรายการอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวกับเงินสด ไม่บันทึกรายการในสมุดบัญชีภายใน 3 วัน นับแต่วันที่เกิดรายการ 4. เอกสารประกอบการลงบัญชีไม่สมบูรณ์ หรือไม่ครบถ้วน 5. ไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำ คำสั่ง ระเบียบ นทส. กำหนด และตามมาตรฐานการบัญชี 6. ไม่จัดทำงบดุล) หรือจัดทำงบดุลไม่เป็นไปตามที่กำหนดไว้ตามมาตรา 66 ส่งผลให้สหกรณ์ไม่สามารถนำเสนองบการเงินต่อที่ประชุมใหญ่เพื่ออนุมัติได้ ภายใน 150 วัน นับแต่วันสิ้นปีบัญชี 4

ข้อบกพร่อง/ข้อสังเกตทางการเงิน เกิดจากการ ไม่ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรับจ่ายและเก็บรักษาเงินของสหกรณ์ 1. การรับเงิน การจ่ายเงิน ไม่มีเอกสารหลักฐานใบสำคัญ หรือไม่มีใบเสร็จรับเงิน 2. เก็บรักษาเงินสดเกินกว่าที่ระเบียบกำหนดเป็นประจำ 3. ไม่จัดทำงบทดลอง งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร (กรณีมียอดแตกต่าง) รวมทั้งสรุปเกี่ยวกับการรับจ่ายเงิน เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ 5

กำหนดระยะเวลาแก้ไขข้อบกพร่อง/ข้อสังเกตทางการเงินการบัญชี 1. สมุดบันทึกรายการขั้นต้น จัดทำให้แล้วเสร็จภายใน 15 วัน 2. สมุดบันทึกรายการขั้นปลาย จัดทำให้แล้วเสร็จภายใน 15 วัน 3. บัญชีย่อยและทะเบียนคุมต่างๆ จัดทำให้แล้วเสร็จภายใน 15 วัน 4. งบการเงินและรายละเอียดประกอบ จัดทำให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน 5. ข้อบกพร่องเสนอรอง นทส. สั่งการให้แก้ไข เพื่อใช้ประกอบการพิจารณา แสดงความเห็นต่องบการเงิน แก้ไขให้แล้วเสร็จภายใน 5 วัน กำหนดระยะเวลาแก้ไข ไม่ควรเกิน 30 วัน โดยคำนึงถึงความเสียหาย หรือผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้นจากการแก้ไขล่าช้า ให้ ผสบ. ติดตาม หรือให้คำแนะนำในการจัดทำบัญชี งบการเงิน รายละเอียดประกอบ อย่างต่อเนื่องในช่วงระยะเวลาสั่งการ 6

ข้อบกพร่อง/ข้อสังเกตอื่น เกิดจากการ ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และการทุจริต การดำเนินการนอกกรอบวัตถุประสงค์ตามข้อบังคับสหกรณ์ พฤติกรรมที่อาจก่อให้เกิดความเสียหาย หรือเสื่อมเสียผลประโยชน์ของสหกรณ์/สมาชิก หรืออาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสหกรณ์เป็นมูลค่าสูงและกระทบเป็นวงกว้าง 7

ผู้สอบบัญชีภาครัฐ หรือผู้มีหน้าที่กำกับสหกรณ์ การรายงานของ สตส. ผู้สอบบัญชีภาครัฐ หรือผู้มีหน้าที่กำกับสหกรณ์ 1. จัดทำรายงานผลการตรวจสอบบัญชี/เข้ากำกับสหกรณ์เสนอ หตส. เห็นชอบ โดยให้ความเห็นว่า ข้อใดเป็นข้อบกพร่องที่เห็นควรเสนอพนักงานเจ้าหน้าที่ (ผอ. สตท.) พิจารณาเพื่อรายงานให้รอง นทส. ดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ ตามแบบ 1 2. จัดทำหนังสือแจ้งผลการตรวจสอบบัญชี/เข้ากำกับสหกรณ์ ให้ประธานกรรมการ สหกรณ์ทราบและดำเนินการแก้ไขเมื่อ หตส. เห็นชอบแล้ว ตามแบบ 2 8

หัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ (หตส.) การรายงานของ สตส. หัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ (หตส.) พิจารณาข้อเท็จจริงที่ตรวจพบตามหนังสือของ ผสบ. /ผู้มีหน้าที่กำกับสหกรณ์ 1. กรณีเป็นข้อบกพร่องอันเกิดจาก การทุจริตและปฏิบัติไม่ถูกต้องตามกฎหมาย หรือมีระบบที่ส่อให้เกิดการทุจริต หรือละเว้นการปฏิบัติที่อาจเกิดความเสียหาย อย่างมีสาระสำคัญและกระทบเป็นวงกว้าง พิจารณาเห็นว่าต้องใช้อำนาจสั่งการ ให้รายงาน อตส. ทราบโดยเร็ว และสำเนาให้ ผอ.สตท. ทราบด้วย 2. กรณีเป็นข้อบกพร่อง ให้จัดทำหนังสือรายงานข้อบกพร่องและผลกระทบ หรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นเสนอพนักงานเจ้าหน้าที่ (ผอ. สตท.) รวมทั้งแนบสำเนาหนังสือแจ้งประธานกรรมการและเอกสารประกอบ (ถ้ามี) ตามแบบ 3 3. กรณีเป็นข้อสังเกต ให้จัดทำหนังสือส่งสำเนาข้อสังเกตให้ ผอ.สตท. 9

การติดตามของ สตส. สตส. 1. แจ้งการใช้อำนาจสั่งการของรอง นทส. ให้ ผสบ./ผู้มีหน้าที่กำกับสหกรณ์ทราบ 2. ผสบ./ผู้มีหน้าที่กำกับสหกรณ์ ติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง/ข้อสังเกต เมื่อเข้าตรวจสอบบัญชี หรือเข้ากำกับสหกรณ์ โดยจัดทำรายงานการติดตาม ผลการแก้ไข เสนอ หตส. ตามแบบ 5 3. หตส. พิจารณาหนังสือของ ผสบ./ผู้มีหน้าที่กำกับสหกรณ์ จัดทำรายงานผล การติดตามและการแก้ไข เสนอพนักงานเจ้าหน้าที่ (ผอ.สตท.) ตามแบบ 6 4. วิเคราะห์ข้อมูล สาเหตุการเกิดข้อบกพร่อง/ข้อสังเกต การสั่งการแก้ไขของ รอง นทส. และผลการแก้ไข พร้อมเสนอแนวทางแก้ไขในภาพรวมของ สตส. โดยสรุปตัดยอดในวันสุดท้ายของเดือน เสนอ ผอ.สตท. ภายในวันที่ 5 ของเดือนถัดไป 10

การรายงานของ สตท. 1. พนักงานเจ้าหน้าที่ (ผอ. สตท.) พิจารณารายงานข้อบกพร่องตามหนังสือ สตส. ไม่มีเหตุอันควรต้องให้รอง นทส. สั่งการ 1. แจ้ง ผสบ. ผ่าน หตส. เพื่อทราบ 2. ส่งเป็นข้อสังเกตให้รอง นทส. เพื่อทราบ ตามแบบ 4 ถือเป็นข้อสังเกต ถือเป็นข้อบกพร่อง ทำหนังสือแจ้งรอง นทส. เพื่อสั่งการต่อไป ตามแบบ 4 กรณีกลุ่มเกษตรกร เสนอนายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจำจังหวัด (เกษตรและสหกรณ์จังหวัด) 11

การติดตามของ สตท. สตท. 1. พนักงานเจ้าหน้าที่ พิจารณารายงานติดตามแก้ไขข้อบกพร่องตามหนังสือ สตส. จัดทำรายงานผลการติดตามและการแก้ไขข้อบกพร่องเสนอรอง นทส. เพื่อทราบ ตามแบบ 7 2. วิเคราะห์สถานการณ์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง เพื่อสรุปผลและเสนอแนวทางป้องกันการเกิดข้อบกพร่องเป็นรายไตรมาส เว้นแต่ มีข้อบกพร่องเร่งด่วน ให้วิเคราะห์สถานการณ์ในช่วงที่เกิดเหตุการณ์ 3. สรุปรายงานข้อบกพร่อง/ข้อสังเกตที่เกิดขึ้น การสั่งการของรอง นทส. และ ผลการแก้ไข เพื่อวิเคราะห์ในภาพรวมของพื้นที่เป็นรายไตรมาส เสนอ อตส. ผ่าน ผอ.สมช ภายใน 7 วันทำการ นับแต่วันสิ้นไตรมาส 12

การบันทึกข้อมูล CAD_DEFECT สตส. โดย ผสบ./ผู้มีหน้าที่กำกับสหกรณ์ 1. บันทึกการแจ้งข้อบกพร่อง/ข้อสังเกตให้ประธานกรรมการสหกรณ์ ทราบและแก้ไข ภายใน 3 วัน นับจากวันที่ส่งหนังสือ 2. บันทึกการสั่งการของรอง นทส. ให้คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ ปฏิบัติตามมาตรา 22 แห่ง พรบ. สหกรณ์ พ.ศ. 2542 ภายใน 3 วัน นับจากวันที่ได้รับสำเนาหนังสือสั่งการ 3. บันทึกการติดตามแก้ไขข้อบกพร่อง/ข้อสังเกต ภายใน 3 วัน นับจากวันที่เสนอรายงานผลการติดตามและแก้ไข กรณีสหกรณ์ที่จัดจ้าง ผสบ.ภาคเอกชน มีข้อบกพร่อง/ข้อสังเกต ให้ สตส. รับผิดชอบ บันทึกข้อมูลใน CAD_DEFECT 13

การบันทึกข้อมูล CAD_DEFECT สตท. 1. กำกับดูแลให้ ผสบ./ผู้มีหน้าที่กำกับสหกรณ์ บันทึกข้อมูลใน CAD_DEFECT ให้แล้วเสร็จ ภายใน 3 วัน 2. กำกับดูแลให้มีผู้รับผิดชอบบันทึกข้อมูลใน CAD_DEFECT ให้แล้วเสร็จ ภายใน 3 วัน นับจากวันที่ส่งหนังสือให้รอง นทส. 14