ประสบการณ์การให้บริการเพร็พ (PrEP)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน
Advertisements

การดำเนินงาน PMTCT (การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก)
Consult the expert ? Thank you การดูผลการตรวจ serology ของ hepatitis B virus ดูอย่างไรคะ ?
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
การขับเคลื่อนงาน ด้านการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุบนท้องถนนในปัจจุบัน 1 นำเสนอโดย นายจุมพฏ วรรณฉัตรสิริ ผู้อำนวยการกองบูรณาการความปลอดภัยทางถนน ข้อมูลประกอบการเสวนา.
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
นางสาวจันสิมา ดีสมบูรณ์ ชื่อเล่น น้องเก๋ ตำแหน่ง ครู วิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยีชัยนาท Phone : Facebook :
การนิเทศ ติดตามและประเมินผล
ปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงานภายนอก 18 สิงหาคม 2558
การประชุมซักซ้อมเตรียมการชี้แจงงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนา
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
Hospital Presentation นพ.ชัยวัฒน์ พงศ์ทวีบุญ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล
โครงการ PrEP PACKAGE ปี 2561
Flow chart การบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น
พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ
ด้านการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์
การดำเนินงานมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
นโยบายแนวทางการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน
TK Palace Hotel, Bangkok
กองทุนประกันสังคม พ.จ.อ.พิชิต ศรีทองหนา จนท.สิทธิประกันสังคม
แผนปฏิบัติการ เร่งรัดการยุติปัญหาเอดส์ ประเทศไทย พ.ศ
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์
Pre-Exposure Prophylaxis for HIV prevention
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
วิธีการเพิ่มกล่อง like แฟนเพจเฟซบุ๊ค ลงในเว็บ Wordpress ของเรา
การถ่ายโอนบุคลากรสาธารณสุข
บูรณาการ“เข้าใจ เข้าถึง”
สหกรณ์ออมทรัพย์ข้าราชการกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ จำกัด
การพัฒนาระบบบริหารจัดการ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม นางสุนิสา บุญยาทิษฐาน พัฒนาการจังหวัดบุรีรัมย์ 9 สิงหาคม 2560.
การซักซ้อมความเข้าใจในการเบิกค่าตอบแทนให้กับเจ้าหน้าที่ ตามหลักเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข ที่บังคับใช้ในปัจจุบัน.
TB HIV ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขยายผลแนวทาง การให้บริการ IPT
วิทยานิพนธ์เรื่อง การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้โปรแกรมการออกกำลังกายต่ออาการเหนื่อยล้าของผู้ป่วยมะเร็ง เม็ดเลือดขาวมัยอีลอยด์ชนิดเฉียบพลันที่รับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยยาเคมีบำบัด.
ซักซ้อมแนวทางการจ่ายค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการจ่ายค่าตอบแทน แนบท้ายข้อบังคับกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการจ่ายเงินค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานให้กับหน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.
ในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 1๓.00 – น.
การจดทะเบียนพาณิชย์ ตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499
บริบท เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 30 เตียง และเปิดให้บริการ 38 เตียง
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
นโยบายการดำเนินงาน PrEP กับการยุติปัญหาเอดส์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
เทคนิคการใช้เครื่องมือสมัยใหม่ (New Media) เพื่อการสื่อสาร
การดำเนินงานด้านเอชไอวี MSM/TG สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
ความเป็นมาของโครงการ และแนวคิดของรูปแบบการจัดบริการปรึกษาและตรวจเอชไอวีโดยเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลาง (community-centered service model) พญ.นิตยา ภานุภาค พึ่งพาพงศ์
การจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ
การตรวจเอกสาร ใบคำขออนุญาตประกอบวิชาชีพครู
สำนักงาน กศน.จังหวัดยะลา
PrEP คืออะไร Pre- Exposure Prophylaxis ยาต้านไวรัสเพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี รูปยา.
แนวทางการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
“สถานการณ์เศรษฐกิจภูมิภาคของไทยล่าสุด”
ความรู้เกี่ยวกับ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
ชื่อผลงาน:การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย HIV/TB แบบบูรณาการ
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 23 เมษายน 2557
แนวทางการปฏิบัติเมื่อบุคลากรสัมผัสเลือด หรือสิ่งคัดหลั่งขณะปฏิบัติงาน
การดำเนินงานการจัดบริการเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และวัณโรค สำหรับภาคีเครือข่ายศูนย์บริการชุมชน (DIC- Cluster) ในระดับ อำเภอ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ.
การจัดทำและการบริหาร งบประมาณรายจ่ายประจำปี นางดรงค์รัตน์ กล้าหาญ
รวมทั้งสิ้น (ล้านบาท)
การประชุมชี้แจงแนวทางการกรอกข้อมูล เกณฑ์ชี้วัดมาตรฐานบริการสาธารณะสำหรับกรุงเทพมหานคร โดย คณะที่ปรึกษาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยในเครือข่ายการวิจัย.
ตัวชี้วัดด้านวัณโรค รอบ NFM หน่วยงาน สสจ.ชียงใหม่
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
(Flowchart) ผังงาน.
การจัดบริการ PrEP พญ. นิตยา ภานุภาค ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
การฝึกอบรมและการพัฒนาบุคคล
กิจกรรมและแผนการดำเนินงาน
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
ใบงานกลุ่มย่อย.
แนวทางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประสบการณ์การให้บริการเพร็พ (PrEP) ผศ. นพ. ธนา ขอเจริญพร โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประชุมเปิดโครงการ PrEP2START โรงแรมนารายณ์ กรุงเทพฯ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559

ความเป็นมา บริการเพร็พโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเป็นระยะเวลา 12 เดือน ในกลุ่มผู้มีผลเอชไอวีลบ โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการสาธิต การตรวจ รักษาและป้องกัน ในกลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย และสาวประเภทสอง

การประชาสัมพันธ์บริการเพร็พ (Reach & Recruit) ใช้การแจกคูปองต่อๆกัน (PDI) ส่งต่อจากกลุ่มองค์กรชุมชน (ฟ้า สีรุ้ง) ประชาสัมพันธ์ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ ประชาสัมพันธ์ สื่อสารผ่าน เครือข่ายชุมชน พูดคุยและ ซักถาม

Some Infographic posted on www.buddystation.org and Facebook page

เอกสารประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับเพร็พและการกินย

การให้บริการเพร็พ ร.พ.ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ เพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าที่เรื่องเพร็พ PrEP training เจ้าหน้าที่ และบทบาท ทีมฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ คลินิกเวชกรรมทั่วไป ทำหน้าที่ให้การปรึกษา HIV Pre-Posttest counseling และให้ คำแนะนำเรื่อง PrEP เบื้องต้น ทีมงานวิจัยโครงการ KPIS ทำหน้าที่ให้คำแนะนำเรื่อง PrEP และส่งตรวจคัดกรองก่อนเริ่ม PrEP (ส่งตรวจ Creatinine, HBsAg, Anti-HBs โดยได้รับสนับสนุนค่าใช้จ่ายจากโครงการ KPIS และคัดกรองโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์และ Acute HIV infection) แพทย์ ทำหน้าที่พิจารณาเริ่ม PrEP ตามผลการตรวจคัดกรองของผู้รับบริการแต่ละราย และสั่งจ่ายยา (ยาฟรีจาก โครงการ KPIS) วันเวลาของการให้บริการ 2 วัน ในสัปดาห์ (วันพุธ และศุกร์) ระบบการจ่ายยา จ่ายยา โดยแพทย์ ทีมงานวิจัยโครงการ KPIS จัดเตรียมยา ตามนัดหมายของผู้รับบริการ การกำกับติดตามบริการ การติดตามผู้มารับบริการ แพทย์ และทีมงานวิจัยโครงการ KPIS

ข้อมูลการรับบริการ ระหว่าง พฤษภาคม 2558 – ตุลาคม 2559

Lerdsin Thammasat ALL ผู้ที่มีผลเลือดลบได้รับการเสนอให้ร่วมโครงการ 107 ยินยอมเข้าร่วมโครงการ 84 (79%) ตัดสินใจกินเพร็พ 83 (78%) ผู้ที่มีผลเลือดลบได้รับการเสนอให้ร่วมโครงการ 420 ยินยอมเข้าร่วมโครงการ 282 (67%) ตัดสินใจกินเพร็พ 83 (20%) ผู้ที่มีผลเลือดลบได้รับการเสนอให้ร่วมโครงการ 527 ยินยอมเข้าร่วมโครงการ 366 (69%) ตัดสินใจกินเพร็พ 166 (31%)

ใครบ้างที่กินเพร็พ (N = 166) ภาพรวม N = 166 อายุเฉลี่ย (ต่ำสุด, สุงสุด) 26 (23,31) 23 (20, 28) 25 อัตลักษณ์ทางเพศ เกย์ สาวประเภทสอง ผู้ชาย 58 (70%) 19 (23%) 6 (7%) 52 (63%) 23 (28%) 8 (10%) 110 (66%) 42 (25%) 14 (8%) เคยกินเพร็พมาก่อนเข้าโครงการ 1 (1%) 0 (0%) 1 (0.6%) ตรวจเอชไอวีครั้งแรกที่โครงการ 29 (35%) 53 (64%) 82 (49%)

กินเพร็พแล้วมีพฤติกรรมเสี่ยงมากขึ้นไหม.... *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล

กินเพร็พแล้วโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิ่มขึ้นไหม จำนวนผู้มีผลตรวซิฟิลิสเป็นบวก ณ จุดเริ่มต้น (เดือน 0) จำนวนผู้มีผลตรวซิฟิลิสเป็นบวก ณ เดือนที่ 6 *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล

ผู้ที่กินเพร็พมาตามนัดเพื่อรับยาสม่ำเสมอไหม Lerdsin Thammasat ตัดสินใจกินเพร็พ 83 22 (27%) ไม่กลับมาตามนัดเดือนที่ 1 ตัดสินใจกินเพร็พ 83 44 (53%) ไม่กลับมาตามนัดเดือนที่ 1 ผู้ที่กินเพร็พมาตามนัดเพื่อรับยาสม่ำเสมอไหม รวมผู้ที่ไม่กลับมาตามนัดเดือนที่ 1 จากสองโรงพยาบาล 66/166 (40%)

……ต้องการรับเพร็พที่ไหน รพ.ที่มีสิทธิประกันสุขภาพอยู่ ร้อยละ 50 ……ต้องการรับเพร็พที่ไหน ศูนย์เพื่อน ร้อยละ 39 ร้านขายยา ร้อยละ 4 รพ.เอกชน ร้อยละ 7 *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล

เหตุผลที่สำคัญสามเหตุผลแรก ในการตัดสินว่าจะไปรับเพร็พที่ไหน ร้อยละ 76 เลือกจากมาตรฐานของสถานบริการนั้นๆ ร้อยละ 75 เลือกจากความสะดวกในการเดินทางไปสถานบริการนั้นๆ ร้อยละ 68 เลือกจากความเป็นมิตรของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล

อุปสรรคสำคัญต่อการกินเพร็พ ร้อยละ 63 กังวลเรื่องผลข้างเคียง ร้อยละ 56 กลัวลืมกิน ร้อยละ 52 กังวลเรื่องราคา *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล

กินยาได้ทุกวันในหนึ่งอาทิตย์ที่ผ่านมา *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล

ใครบ้างที่ช่วยให้กินยาได้สม่ำเสมอ ร้อยละ 60 ผู้ให้คำปรึกษา ร้อยละ 39เจ้าหน้าที่ในศูนย์ ร้อยละ 38แพทย์ ร้อยละ 33 แฟน *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล

สิ่งซึ่งช่วยให้กินยาได้สม่ำเสมอ ร้อยละ 80 เชื่อว่ายาป้องกันการติดเชื่อเอชไอวีได้ ร้อยละ 54 คิดว่าตนเองมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการรับเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 38 คิดว่ายากินง่าย

สรุป บริการเพร็พสามารถแทรกอยู่ในระบบริการปกติได้ มีกลุ่มที่สนใจรับบริการเพร็พอยู่พอสมควร แต่จำเป็นต้องมีการประชาสัมพันธ์ และ สร้างความต้องการในการรับบริการ ผู้รับบริการในโครงการนี้ไม่มีรายงานว่ามีพฤติกรรมเสี่ยงมากขึ้นหลังรับบริการ เพร็พ ยังมีข้อมูลในโครงการไม่เพียงพอที่จะตัดสินใจได้ว่าโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เพิ่มขึ้นหลังรับบริการเพร็พหรือไม่ อย่างไรก็ดี การมาตรงตามนัด เป็นประเด็นที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ และ หาทางแก้ไข (ร้อยละ 40 ไม่กลับมาตามนัด และรับยาต่อเนื่อง ในเดือนที่ 1) เน้นการกินยาต่อเนื่องทุกวันกับผู้รับบริการ เพื่อประสิทธิภาพที่ดีขึ้น