ประสบการณ์การให้บริการเพร็พ (PrEP) ผศ. นพ. ธนา ขอเจริญพร โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประชุมเปิดโครงการ PrEP2START โรงแรมนารายณ์ กรุงเทพฯ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559
ความเป็นมา บริการเพร็พโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเป็นระยะเวลา 12 เดือน ในกลุ่มผู้มีผลเอชไอวีลบ โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการสาธิต การตรวจ รักษาและป้องกัน ในกลุ่มชายมีเพศสัมพันธ์กับชาย และสาวประเภทสอง
การประชาสัมพันธ์บริการเพร็พ (Reach & Recruit) ใช้การแจกคูปองต่อๆกัน (PDI) ส่งต่อจากกลุ่มองค์กรชุมชน (ฟ้า สีรุ้ง) ประชาสัมพันธ์ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ ประชาสัมพันธ์ สื่อสารผ่าน เครือข่ายชุมชน พูดคุยและ ซักถาม
Some Infographic posted on www.buddystation.org and Facebook page
เอกสารประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับเพร็พและการกินย
การให้บริการเพร็พ ร.พ.ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ เพิ่มศักยภาพเจ้าหน้าที่เรื่องเพร็พ PrEP training เจ้าหน้าที่ และบทบาท ทีมฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ คลินิกเวชกรรมทั่วไป ทำหน้าที่ให้การปรึกษา HIV Pre-Posttest counseling และให้ คำแนะนำเรื่อง PrEP เบื้องต้น ทีมงานวิจัยโครงการ KPIS ทำหน้าที่ให้คำแนะนำเรื่อง PrEP และส่งตรวจคัดกรองก่อนเริ่ม PrEP (ส่งตรวจ Creatinine, HBsAg, Anti-HBs โดยได้รับสนับสนุนค่าใช้จ่ายจากโครงการ KPIS และคัดกรองโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์และ Acute HIV infection) แพทย์ ทำหน้าที่พิจารณาเริ่ม PrEP ตามผลการตรวจคัดกรองของผู้รับบริการแต่ละราย และสั่งจ่ายยา (ยาฟรีจาก โครงการ KPIS) วันเวลาของการให้บริการ 2 วัน ในสัปดาห์ (วันพุธ และศุกร์) ระบบการจ่ายยา จ่ายยา โดยแพทย์ ทีมงานวิจัยโครงการ KPIS จัดเตรียมยา ตามนัดหมายของผู้รับบริการ การกำกับติดตามบริการ การติดตามผู้มารับบริการ แพทย์ และทีมงานวิจัยโครงการ KPIS
ข้อมูลการรับบริการ ระหว่าง พฤษภาคม 2558 – ตุลาคม 2559
Lerdsin Thammasat ALL ผู้ที่มีผลเลือดลบได้รับการเสนอให้ร่วมโครงการ 107 ยินยอมเข้าร่วมโครงการ 84 (79%) ตัดสินใจกินเพร็พ 83 (78%) ผู้ที่มีผลเลือดลบได้รับการเสนอให้ร่วมโครงการ 420 ยินยอมเข้าร่วมโครงการ 282 (67%) ตัดสินใจกินเพร็พ 83 (20%) ผู้ที่มีผลเลือดลบได้รับการเสนอให้ร่วมโครงการ 527 ยินยอมเข้าร่วมโครงการ 366 (69%) ตัดสินใจกินเพร็พ 166 (31%)
ใครบ้างที่กินเพร็พ (N = 166) ภาพรวม N = 166 อายุเฉลี่ย (ต่ำสุด, สุงสุด) 26 (23,31) 23 (20, 28) 25 อัตลักษณ์ทางเพศ เกย์ สาวประเภทสอง ผู้ชาย 58 (70%) 19 (23%) 6 (7%) 52 (63%) 23 (28%) 8 (10%) 110 (66%) 42 (25%) 14 (8%) เคยกินเพร็พมาก่อนเข้าโครงการ 1 (1%) 0 (0%) 1 (0.6%) ตรวจเอชไอวีครั้งแรกที่โครงการ 29 (35%) 53 (64%) 82 (49%)
กินเพร็พแล้วมีพฤติกรรมเสี่ยงมากขึ้นไหม.... *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล
กินเพร็พแล้วโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิ่มขึ้นไหม จำนวนผู้มีผลตรวซิฟิลิสเป็นบวก ณ จุดเริ่มต้น (เดือน 0) จำนวนผู้มีผลตรวซิฟิลิสเป็นบวก ณ เดือนที่ 6 *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล
ผู้ที่กินเพร็พมาตามนัดเพื่อรับยาสม่ำเสมอไหม Lerdsin Thammasat ตัดสินใจกินเพร็พ 83 22 (27%) ไม่กลับมาตามนัดเดือนที่ 1 ตัดสินใจกินเพร็พ 83 44 (53%) ไม่กลับมาตามนัดเดือนที่ 1 ผู้ที่กินเพร็พมาตามนัดเพื่อรับยาสม่ำเสมอไหม รวมผู้ที่ไม่กลับมาตามนัดเดือนที่ 1 จากสองโรงพยาบาล 66/166 (40%)
……ต้องการรับเพร็พที่ไหน รพ.ที่มีสิทธิประกันสุขภาพอยู่ ร้อยละ 50 ……ต้องการรับเพร็พที่ไหน ศูนย์เพื่อน ร้อยละ 39 ร้านขายยา ร้อยละ 4 รพ.เอกชน ร้อยละ 7 *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล
เหตุผลที่สำคัญสามเหตุผลแรก ในการตัดสินว่าจะไปรับเพร็พที่ไหน ร้อยละ 76 เลือกจากมาตรฐานของสถานบริการนั้นๆ ร้อยละ 75 เลือกจากความสะดวกในการเดินทางไปสถานบริการนั้นๆ ร้อยละ 68 เลือกจากความเป็นมิตรของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล
อุปสรรคสำคัญต่อการกินเพร็พ ร้อยละ 63 กังวลเรื่องผลข้างเคียง ร้อยละ 56 กลัวลืมกิน ร้อยละ 52 กังวลเรื่องราคา *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล
กินยาได้ทุกวันในหนึ่งอาทิตย์ที่ผ่านมา *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล
ใครบ้างที่ช่วยให้กินยาได้สม่ำเสมอ ร้อยละ 60 ผู้ให้คำปรึกษา ร้อยละ 39เจ้าหน้าที่ในศูนย์ ร้อยละ 38แพทย์ ร้อยละ 33 แฟน *ข้อมูลรวมสองโรงพยาบาล
สิ่งซึ่งช่วยให้กินยาได้สม่ำเสมอ ร้อยละ 80 เชื่อว่ายาป้องกันการติดเชื่อเอชไอวีได้ ร้อยละ 54 คิดว่าตนเองมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการรับเชื้อเอชไอวี ร้อยละ 38 คิดว่ายากินง่าย
สรุป บริการเพร็พสามารถแทรกอยู่ในระบบริการปกติได้ มีกลุ่มที่สนใจรับบริการเพร็พอยู่พอสมควร แต่จำเป็นต้องมีการประชาสัมพันธ์ และ สร้างความต้องการในการรับบริการ ผู้รับบริการในโครงการนี้ไม่มีรายงานว่ามีพฤติกรรมเสี่ยงมากขึ้นหลังรับบริการ เพร็พ ยังมีข้อมูลในโครงการไม่เพียงพอที่จะตัดสินใจได้ว่าโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เพิ่มขึ้นหลังรับบริการเพร็พหรือไม่ อย่างไรก็ดี การมาตรงตามนัด เป็นประเด็นที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษ และ หาทางแก้ไข (ร้อยละ 40 ไม่กลับมาตามนัด และรับยาต่อเนื่อง ในเดือนที่ 1) เน้นการกินยาต่อเนื่องทุกวันกับผู้รับบริการ เพื่อประสิทธิภาพที่ดีขึ้น