โครงการกำจัดโรคหัด.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Department of Disease Control Ministry of Public Health
Advertisements

Measles Elimination, Thailand
ซักซ้อม SRRT แนวทางการเฝ้าระวังสอบสวนเตรียมพร้อมรับมือการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ สำนักระบาดวิทยา.
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Emergence of Fatal Hand Foot & Mouth Disease, Thailand, 2006
ตัวอย่างการสอบสวนมือ เท้า ปาก และ EV71
Measles Elimination Bureau of Epidemiology, DDC
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
แนวทางการเฝ้าระวัง (Chikungunya fever) ในสถาบันการศึกษาสังกัดสถาบัน พระบรมราชชนก กระทรวง สาธารณสุข กลุ่มวิจัยและพัฒนานักระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค.
ธีรนารถ Jan Experiences in GMP Inspection in WHO Vaccine Prequalification Scheme ธีรนารถ จิวะไพศาลพงศ์ กองชีววัตถุ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Measles Elimination, Thailand Bureau of Epidemiology, DDC Bureau of General Communicable Diseases, DDC National Institute of Health, DMSc Bureau of Practical.
Situation of Zika virus infection in Thailand
 รอบ 3 เดือน,พัฒนาบุคลากร เครือข่ายคณะกรรมการในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล วางแนวทางการ ดำเนินงาน  รอบ 6 เดือน ดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัด.
การบริหารงบประมาณ. รายงานผลการใช้จ่ายเงิน จัดทำแผนการใช้จ่ายเงิน จัดทำคำของบประมาณ.
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
สำนักงานสิ่งแวดล้อม ภาคที่ 10 พื้นที่รับผิดชอบ : ลุ่มน้ำชีตอนบน 5 จังหวัด ; กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ ขอนแก่น มหาสารคาม หนองบัวลำภู - พื้นที่ 39,761 ตร. กม.
Facilitator: Pawin Puapornpong
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
ความคืบหน้าการจัดทำ ร่าง-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ
สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ
จัดทำข้อมูลวิชาการอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การแพ้ยา
การใช้เครื่องมือเตือนภัยทางการเงินและ การวิเคราะห์ผล ( CFSAWS:ss )
หลักการและเทคนิคการเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา และการใช้ประโยชน์จากข้อมูล
27 ปี งานกวาดล้างโปลิโอ รณรงค์ OPV ประจำปี
โรคที่เป็นปัญหา ของพื้นที่
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
AFP surveillance การเฝ้าระวังผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉียบพลัน
สรุปงานและทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
ปัจจัยที่มีผลต่อการแพ้ยาและ ผลของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์
กรณีตัวอย่าง : ส้มโอแปลงใหญ่ประชารัฐ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
การสอบสวนทางระบาดวิทยา (Epidemiological investigation)
กลุ่มที่ 3 : Scenario 3.
Roadmap AUNQA หลักสูตร
(1) ภาวะการหางานทำของบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
เพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สพส.
บทที่ 9 ระบบปฏิบัติการ Windows
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
วันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559 เวลา น.
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
สถานการณ์ไข้เลือดออก เขตสุขภาพที่ 1 ปี 2560
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
การสอบสวนโรค เฉพาะราย
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
พระพุทธศาสนา.
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
ข้อความสั่งควบคุม.
ประเด็นมุ่งเน้นยุทธศาสตร์ โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
การจัดการเชิงรุกรายบุคคล
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครนายก
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
1.1 การตายที่ระบุสาเหตุ ไม่ชัดแจ้ง <= 25 % ของการตายทั้งหมด
โครงการปรับระบบการเลี้ยงสุกรเพื่อป้องกันโรคและประเมินสถานภาพโรค PRRS ของกลุ่มผู้เลี้ยงสุกรรายย่อยปี 2559.
การดำเนินงานการจัดบริการเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และวัณโรค สำหรับภาคีเครือข่ายศูนย์บริการชุมชน (DIC- Cluster) ในระดับ อำเภอ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ.
สรุปความก้าวหน้า การดำเนินงาน PA พัฒนาคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10
กลุ่มที่1 การจัดการข้อมูลการดำเนินงานโรงเรียนเด็กไทยแก้มใส
กรณีศึกษา โรงพยาบาลบางปะหัน.
Measles Situation, Thailand 2011 – May 2012
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการกำจัดโรคหัด

กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินงานกำจัดโรคหัด อุบัติการณ์ผู้ป่วยยืนยันโรคหัดไม่เกิน 5 ต่อประชากรล้านคนทุกกลุ่มอายุในปี 2015 และไม่เกิน 1 ต่อประชากรล้านคนทุกกลุ่มอายุในปี 2020 (ไม่นับผู้ป่วยนำเข้าจากต่างประเทศ) ผู้ป่วยยืนยันโรคหัดไม่เกิน 10 รายต่อหนึ่งเหตุการณ์การระบาด ในอย่างน้อยร้อยละ 80 ของเหตุการณ์การระบาดทั้งหมด ไม่มีผู้ป่วยยืนยันโรคหัดที่ติดเชื้อไวรัสโรคหัดสายพันธุ์ภายในประเทศ เป็นระยะติดต่อกันไม่ต่ำกว่า 12 เดือน

กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินงานกำจัดโรคหัด ความครอบคลุมของวัคซีนโรคหัดเข็มที่ 1 และเข็มที่ 2 ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 ทั้งในระดับตำบลและระดับประเทศ หมายเหตุ : ตัวชี้วัดทั้งหมดต้องดำเนินการภายใต้ระบบเฝ้า ระวังที่มีประสิทธิภาพ

ระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพของโรคหัด อัตราการรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดไม่น้อยกว่า 2 ต่อแสนในประชากรทุกกลุ่มอายุแสนคนต่อปี เก็บตัวอย่างซีรั่มเพื่อส่งตรวจ Measles IgM ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง(ไม่นับผู้ป่วยสงสัยในการสอบสวนเหตุการณ์การระบาด)

ระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพของโรคหัด มีการเก็บสิ่งส่งตรวจเพื่อวิเคราะห์หาสายพันธุ์ของไวรัสโรคหัด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเหตุการณ์การระบาด มีการสอบสวนโรคเฉพาะรายของผู้ป่วยสงสัยโรคหัดภายใน 48 ชั่วโมงหลังพบผู้ป่วย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วย

เป้าหมายของโครงการกวาดล้างโปลิโอและกำจัดโรคหัด AFP มากกว่าเป้า 2/100,000 )ประชากรอายุต่ำกว่า 15 ปี Fever with rash มากกว่าเป้า 2/100,000 ประชากรทุกกลุ่มอายุ คนไข้ Fever with rash ตรวจหาการติดเชื้อมากกว่า 80%

การเฝ้าระวังโรคหัด ผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์การเฝ้าระวัง(Surveillance case) หมายถึง ผู้ป่วยไข้ออกผื่น ผู้ป่วยสงสัยโรคหัด/หัดเยอรมันทั้งหมดที่ถูกรายงานเข้าโครงการกำจัดโรคหัด เป็นค่าเริ่มต้น(default) ก่อนจะพิจารณาเกณฑ์ทางคลินิกและผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

การรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวังตามโครงการกำจัดโรคหัด ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยไข้ออกผื่น หรือผู้ป่วยสงสัยโรคหัดหรือหัดเยอรมัน พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการในผู้ป่วยสงสัยทุกราย

นิยามผู้ป่วยสำหรับการเฝ้าระวัง ผู้ป่วยไข้ออกผื่น หมายถึง ผู้ป่วยที่มีไข้ร่วมกับผื่นนูนแดง(Maculopapular rash) ซึ่งรวมถึงโรค Reseola infantum(B08.2) โรค Erythema infectiotum(B08.3) รวมทั้งโรคไข้ออกผื่นอื่นๆ ในกลุ่มการติดเชื้อไวรัสอื่นๆ ที่ไม่ทราบแน่ชัด(B09)

เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ นิยามผู้ป่วย เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ Serology test : Measles IgM ให้ผลบวก Genotyping : การตรวจหาสารพันธุกรรมและวิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสโดยการทำ PCR และ sequencing จาก Throat swab หรือ Nasal swab

ประเภทผู้ป่วย(Measles classification) ผู้ป่วยสงสัย(Suspected case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก แต่ไม่มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผู้ป่วยเข้าข่าย(Probable case) หมายถึง ผู้ป่วยที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก ร่วมกับมีข้อมูลทางด้านระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยที่ยืนยันผล

ประเภทผู้ป่วย(Measles classification) ผู้ป่วยยืนยัน(Confirmed case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก และมีผลบวกตามเกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการอย่างน้อย 1 ข้อ ผู้ป่วยที่ไม่ใช่โรคหัด(Non-measles case) หมายถึงผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์การเฝ้าระวัง มีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการเป็นลบ และไม่มีความเชื่อมโยงทางด้านระบาดวิทยากับผู้ป่วยยืนยัน

นิยามการระบาดผู้ป่วยสงสัยโรคหัด นิยามการระบาดของโรคตามโครงการกำจัดโรคหัดที่ใช้ในประเทศไทย คือ การพบผู้ป่วยไข้ออกผื่นหรือผู้ป่วยสงสัยโรคหัด/หัดเยอรมันอย่างน้อย 2 ราย ภายใน 14 วัน ในหมู่บ้าน ชุมชน หรือ สถานที่ที่มีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น เช่น โรงงาน โรงเรียน สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก และ อื่นๆ เดียวกัน

อัตราป่วยต่อแสนของผู้ป่วยโรคหัดทุกกลุ่มอายุ , ประเทศไทย , พ. ศ อัตราป่วยต่อแสนของผู้ป่วยโรคหัดทุกกลุ่มอายุ , ประเทศไทย , พ.ศ. 2555-2557 พ.ศ. อัตราป่วย 2555 8.10 2556 4.12 2557 1.85

เปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยโรคหัดในฐานข้อมูล506และฐานข้อมูลME , ประเทศไทย , 2555-2557 จำนวนผู้ป่วยโรคหัดในฐานข้อมูล 506 จำนวนผู้ป่วยโรคหัดในฐานข้อมูล ME ร้อยละ 2555 5207 2934 37.14 2556 2643 1072 43.52 2557 1167 395 33.85

ร้อยละของผู้ป่วยยืนยันโรคหัด , ประเทศไทย , 2555-2557 จำนวนส่งตรวจตัวอย่าง จำนวนตัวอย่างที่ให้ ผลบวก ร้อยละ 2555 1934 976 50.47 2556 986 353 35.80 2557 395 74 18.73

สาเหตุที่โรงพยาบาลไม่ส่งตัวอย่างยืนยันโรคหัด แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยา รพ. ไม่ทราบว่ามีผู้ป่วยโครงการกำจัดโรคหัด 9 7 3 ผู้ป่วยไม่อยู่ในเงื่อนไขเวลาของการเก็บตัวอย่าง 1 ผู้ป่วยไม่มาตามนัด ไม่ได้นัดผู้ป่วย 6 ไม่มีพาหนะมาส่งตัวอย่างที่ห้อง LAB จำนวนผู้ให้ข้อมูล 10

ใครควรเป็นผู้ที่มาปิด gap ของ communication เครือข่าย ส่วนกลาง สำนักงานป้องกันควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาล

เป้าหมายของส่วนกลางในโครงการกำจัดโรคหัด AFP มากกว่าเป้า 2/100,000 )ประชากรอายุต่ำกว่า 15 ปีในภาพของประเทศ Fever with rash มากกว่าเป้า 2/100,000 ประชากรทุกกลุ่มอายุ ในภาพของประเทศ คนไข้ Fever with rash ตรวจหาการติดเชื้อมากกว่า 80% ในภาพของประเทศ

บทบาทของส่วนกลางในโครงการกำจัดโรคหัด สนับสนุนทางด้านวิชาการและการประสานงานให้กับทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

เป้าหมายของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคในโครงการกำจัดโรคหัด AFP มากกว่าเป้า 2/100,000 )ประชากรอายุต่ำกว่า 15 ปีในภาพของเขต Fever with rash มากกว่าเป้า 2/100,000 ประชากรทุกกลุ่มอายุ ในภาพของเขต คนไข้ Fever with rash ตรวจหาการติดเชื้อมากกว่า 80% ในภาพของเขต

บทบาทของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคในโครงการกำจัดโรคหัด ให้ ผอ.สคร. เกิดความตระหนักว่างานตามโครงการกำจัดโรคหัดเป็นงานของกรมฯ ที่ต้องดำเนินการ มีระบบติดตามจาก สคร. ในการติดตามการรับส่งหนังสือราชการของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

บทบาทของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคในโครงการกำจัดโรคหัด สคร. Monitor เป้าหมายในภาพของเขต กรณีที่ยังไม่บรรลุเป้าหมาย ให้มีกิจกรรมลงไปกระตุ้น สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และโรงพยาบาล เช่น การลงไปประเมินระบบเฝ้าระวัง การจัดประชุมราชการเพื่อชี้แจง การขอความร่วมมือจากเขตสุขภาพให้ช่วยกระตุ้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

เป้าหมายของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในโครงการกำจัดโรคหัด AFP มากกว่าเป้า 2/100,000 ประชากรอายุต่ำกว่า 15 ปีในภาพของจังหวัด Fever with rash มากกว่าเป้า 2/100,000 ประชากรทุกกลุ่มอายุ ในภาพของจังหวัด คนไข้ Fever with rash ตรวจหาการติดเชื้อมากกว่า 80% ในภาพของจังหวัด

บทบาทของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในโครงการกำจัดโรคหัด ให้นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเกิดความตระหนักว่างานตามโครงการกำจัดโรคหัดเป็นงานของกระทรวงสาธารณสุข ที่ต้องดำเนินการ เมื่อสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดได้รับหนังสือจากกระทรวงสาธารณสุขให้ดำเนินงานตามโครงการกำจัดโรคหัด ให้ทำหนังสือแจ้งต่อไปยัง รพ. ในเครือข่ายได้รับทราบ

บทบาทของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในโครงการกำจัดโรคหัด ให้มีระบบติดตามหนังสือที่แจ้งจาก สสจ. ไป รพ. เพื่อให้มั่นใจว่า บุคคลที่เกี่ยวข้อง เช่น แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาโรงพยาบาลได้รับทราบเรื่อง โครงการกำจัดโรคหัด

บทบาทของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในโครงการกำจัดโรคหัด กรณีที่ยังไม่บรรลุเป้าหมายของจังหวัด ให้กระตุ้นโรงพยาบาลเป็นระยะเพื่อให้เกิดการดำเนินงานของ รพ.อย่างต่อเนื่อง ตามโครงการกำจัดโรคหัด เช่น การประเมินระบบเฝ้าระวัง การจัดประชุมชี้แจงเป็นระยะ การไปนิเทศงานเป็นระยะ

บทบาทของโรงพยาบาลในโครงการกำจัดโรคหัด บทบาทของแพทย์ รายงานผู้ป่วยไข้ออกผื่นหรือผู้ป่วยสงสัยโรคหัด/หัดเยอรมันไปที่งานระบาดวิทยาของโรงพยาบาลทุกราย สั่งเก็บตัวอย่างซีรั่มผู้ป่วยไข้ออกผื่นหรือผู้ป่วยสงสัยโรคหัด/หัดเยอรมัน(Single case)ทุกรายส่งตรวจที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย

บทบาทของโรงพยาบาลในโครงการกำจัดโรคหัด บทบาทของแพทย์ ในกรณีที่มีการระบาดของผู้ป่วยไข้ออกผื่นหรือผู้ป่วยสงสัยโรคหัด/หัดเยอรมัน เก็บตัวอย่างซีรั่มประมาณ 10-20 ตัวอย่างในช่วงเวลา 4-30 วันหลังพบผื่นเพื่อหา Measles_IgM เก็บตัวอย่าง Throat/Nasal swab ภายในเวลาไม่เกิน 5 วัน หลังพบผื่น ประมาณไม่เกิน 5 ตัวอย่าง

บทบาทของโรงพยาบาลในโครงการกำจัดโรคหัด บทบาทของแพทย์ การเก็บตัวอย่างซีรั่มในกรณีที่ผู้ป่วยไข้ออกผื่นหรือผู้ป่วยสงสัยโรคหัด/หัดเยอรมันเป็นผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยมาโรงพยาบาลเร็ว เก็บตัวอย่างซีรั่มทันที ถ้าผล LAB negative นัดผู้ป่วยมาเก็บตัวอย่างอีกครั้ง ให้ผู้ป่วยกลับบ้านไปก่อน และนัดผู้ป่วยมาเจาะเลือดอีกครั้งในเงื่อนไขเวลาที่เหมาะสม

บทบาทของโรงพยาบาลในโครงการกำจัดโรคหัด บทบาทของพยาบาล คัดกรองผู้ป่วยไข้ออกผื่น และแจ้งเตือนให้แพทย์ทราบถึงการวินิจฉัยและเก็บตัวอย่างซีรั่มผู้ป่วยในโครงการกำจัดโรคหัด

บทบาทของโรงพยาบาลในโครงการกำจัดโรคหัด บทบาทของเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยา เมื่อได้รับแจ้งผู้ป่วยสงสัยโรคหัดจากแพทย์หรือพยาบาลให้ key ข้อมูลลงในฐานข้อมูลกำจัดโรคหัด บน web-site ของสำนักระบาดวิทยา ทบทวนข้อมูลผู้ป่วยสงสัยโรคหัดในฐานข้อมูล 506 เพื่อตรวจสอบการเก็บตัวอย่างซีรั่มส่งตรวจของผู้ป่วยแต่ละราย

บทบาทของโรงพยาบาลในโครงการกำจัดโรคหัด บทบาทของเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยา ให้มีระบบติดตามการเก็บตัวอย่างซีรั่มในพื้นที่ ในกรณีที่ยังไม่มีการเก็บตัวอย่างในผู้ป่วยสงสัยโรคหัดที่รายงานเข้าระบบรายงาน 506