บริการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรียนรู้ระบบหลักประกันสุขภาพ
Advertisements

อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ปี พ.ศ
1. แนวทางการดำเนินงาน OPPP individual ในปี 2559  ระยะเวลาการรับข้อมูล การดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2559  มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูล และแฟ้มที่จะรับ  รูปแบบ.
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
การจัดการการดูแล (Care Management) นางอุไลวรรณ์ ไขสังเกต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ตามรอยครู :
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มการเข้าถึงบริการ 2nd Prevention ในผป. HT/DM
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
การเบิกจ่าย ค่าชดเชยการรักษา (E-Claim palliative)
โรคจากการประกอบอาชีพ
การบริหารงบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี งบประมาณ 2560
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
เครือข่ายบริการ Referral system High level Mid level First level รพศ.
สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
แนวทางการดำเนินงาน แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคไตวาย ปีงบประมาณ 2559
(ร่าง)งบจ่ายตามเกณฑ์ คุณภาพผลงานบริการ
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ (QOF) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง
แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
ประชุมหารือการตามจ่าย เงินกันและOP Refer
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
เกณฑ์คะแนน รพ.สต.ติดดาว ปี2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
นายสำราญ สาราบรรณ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร วันที่ 1 กรกฏาคม 2560
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
สู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ ปีที่ ๙
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
นายสำราญ สาราบรรณ์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร วันที่ 1 กรกฏาคม 2560
RDU Hospital ผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1/2560 (ระดับการพัฒนา RDU ขั้นที่1) ปีงบประมาณ 60  ขั้นที่ 1 (เงื่อนไข 9 ข้อ) RDU- hospital 1. มีคณะกรรมการดำเนินงาน.
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
เมื่อต้องการแทรกภาพนิ่งนี้ในงานนำเสนอของคุณ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
กลุ่มงานประกันสุขภาพ / สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ
คุณไม่สามารถสร้างชื่อเสียง จากสิ่งที่คุณกำลังจะทำ
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
ประชุมเครือข่าย COPD จังหวัดเชียงใหม่
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care: LCT ) จังหวัดกำแพงเพชร
งานการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
สร้างเครือข่ายในชุมชน
ข้อมูลทั่วไป สถานะสุขภาพ ทรัพยากรสาธารณสุข การบริหารจัดการ.
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
การบริหารและควบคุมกำกับสารสนเทศสุขภาพและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขอต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย กีรติหัตถยากร
รวมทั้งสิ้น (ล้านบาท)
เครือข่ายบริการ สุขภาพ อำเภอแม่ฟ้าหลวง
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
สรุปผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
หากต้องการแทรกภาพนิ่งนี้ลงในงานนำเสนอของคุณ
งบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค (P&P) ปี 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บริการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2562 โดย....กลุ่มภารกิจยุทธศาสตร์และประเมินผล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 12 สงขลา

ความเป็นมา : ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ ปีงบประมาณ 2562

กรอบแนวทางการบริหารงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2562 กรอบแนวทางการบริหารงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2562 งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ งบ OP 9 บาท/ผู้มีสิทธิ (48.575 ล้านคน) งบ PP 9 บาท/ปชก.ไทย (65.7 ล้านคน) งบบริการจ่ายตามคุณภาพ ผลงานบริการ 2 บาท/ผู้มีสิทธิ์ • UC pop 48.575 ล้านคน • Thai pop 65.700 ล้านคน 36,121,320 บาท 43,941,155.29 บาท 8,026,960 บาท สปสช.เขต 12 สงขลา ได้รับจัดสรร 88,089,435.29 บาท

บริการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2562 1.เป้าประสงค์/วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพมาตรฐานตามความจำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต เพื่อให้หน่วยบริการมีการพัฒนาคุณภาพผลงานบริการอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพของระบบข้อมูลสุขภาพในพื้นที่ 2.ผลผลิต ผลลัพธ์ที่ต้องการ และการวัดผล ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน หน่วยบริการมีผลการดำเนินงานที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด ข้อมูลบริการได้รับการพัฒนาและนำมาใช้ในแก้ไขปัญหา/บริการในพื้นที่ได้

การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ แนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2562 จ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ เหมือนปี61 ประชากรสิทธิ UCS ทั้งหมด Point system with global budget ตามผลงานเกินเป้าหมายตัวชี้วัดที่กำหนด ตัวชี้วัดกลาง จำนวนไม่เกิน 10 ตัว (ต่อเนื่องจากปี 2561) มี 6 ตัว 1) ร้อยละ ปชก.ไทยอายุ 35-74 ปีได้รับการคัดกรองเบาหวานโดยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด 2) ร้อยละ ปชก.ไทยอายุ 35-74 ปีได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง 3) ร้อยละหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ 4) ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30-60ปี ภายใน 5ปี 5)ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอก 5.1) ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบใน ผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระร่วง 5.2) ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบใน ผู้ป่วยนอกโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ 6)การลดลงของอัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลด้วยกลุ่มโรคที่ควรรักษาแบบผู้ป่วยนอก (ACSC: Ambulatory Care Sensitive Condition) ในโรคลมชัก (Epilepsy) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) หืด (Asthma) เบาหวาน (Diabetes Mellitus) และความดันโลหิตสูง (Hypertension) 2. ตัวชี้วัดระดับเขต จำนวนไม่เกิน 5 ตัว โดยผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. ตามเกณฑ์ตัวชี้วัดคุณภาพผลงานบริการที่กำหนด การจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ตามมาตรฐานราชวิทยาลัย/สมาคมวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ตามมาตรฐานวิชาชีพ หน่วยบริการในระบบ UCS

การออกแบบบริหารจัดการงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ประเด็น ปีงบประมาณ 2562 1. กลุ่มเป้าหมาย หน่วยบริการประจำ และหน่วยบริการปฐมภูมิ ในระบบ UC 2. ตัวชี้วัดคุณภาพ 2.1 ตัวชี้วัดกลาง 6 รายการ (เหมือนปี 61) 2.2 ตัวชี้วัดระดับเขต ไม่เกิน 5 ตัว (เหมือนปี 61 และไม่เพิ่มจำนวนตัวชี้วัดใหม่) 3. ข้อมูลที่นำมาใช้ ข้อมูลที่มีในระบบ (ไม่สร้างขึ้นมาใหม่) ได้แก่ OP/PP individual, IP e-claim หรือ HDC ของสธ. 4. งบประมาณ 4.1 งบ OP 9 บาท/ผู้มีสิทธิ 4.2 งบ PP 9 บาท/ปชก.ไทย 4.3 งบจ่ายตามเกณฑ์ฯ 2 บาท/ผู้มีสิทธิ Global budget ระดับเขต จัดสรรให้หน่วยบริการที่มีผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดคุณภาพฯที่เกินเป้าหมาย โดยจ่ายงวดเดียว ภายในเดือน สิงหาคม 2562 (ข้อมูล T3,4 ปี 61 และ T1, 2 ปี 62) กรณีที่มีงบเหลือจาก Global budget ระดับเขตของแต่ละสปสช.เขต ให้จ่ายคืนหน่วยบริการประจำตามจำนวนผู้มีสิทธิลงทะเบียน โดยผ่านความเห็นชอบจากอปสข. ผู้มีสิทธิที่ลงทะเบียนกับกรมแพทย์ทหารเรือ และกรมแพทย์ทหารอากาศนั้น สปสช.กำหนดแนวทางการบริหารจัดการเป็นการเฉพาะได้ โดยให้หารือร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.ประเมินคุณภาพบริการโดยกำหนดตัวชี้วัดผลงานบริการ ส่วนกลาง -กำหนดแนวทางการคัดเลือกตัวชี้วัด /ใช้กลไกการมีส่วนร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัดกลาง - ไม่เกิน 10 ตัว บูรณาการร่วม สปสช. สธ. สสส. ปัจจุบัน 6 ตัว กำหนดใช้ทุกเขต 2) ตัวชี้วัดระดับเขต - ไม่เกิน 5 ตัว สอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ ใช้กลไกการมีส่วนร่วมกับผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ และผ่านอปสข. 2. จัดสรรให้หน่วยบริการที่มีผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดคุณภาพฯที่เกินเป้าหมายโดยสปสช.เขต จัดตั้งคณะทำงาน/ใช้กลการมีส่วนร่วมในพื้นที่ เพื่อกำหนดแนวทางการจัดสรร (ค่าเป้าหมาย / น้ำหนักคะแนน /เกณฑ์การให้คะแนน และสัดส่วนงบประมาณ) สคม._ 29 มิ.ย. 61

การออกแบบบริหารจัดการงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ในอนาคต ประเด็น ปีงบประมาณ 2562 5. กำกับ&ประเมินผล ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดที่กำหนด งบประมาณที่ได้รับการจัดสรร/เบิกจ่าย ผลการดำเนินงานบริหารจัดการงบ ส่วนกลาง/เขต 6. กลไกการมีส่วนร่วม ส่วนกลาง – คณะทำงานพัฒนาแนวทางการบริหารงบจ่ายตามเกณฑ์ฯ โดยมีองค์ประกอบจากทุกภาคส่วน เช่น กระทรวงสาธารณสุข /หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และหน่วยงานวิชาการ ในการกำหนดนโยบาย/แนวทางการพัฒนาคุณภาพบริการร่วมกัน สปสช.เขต – คณะทำงานฯในพื้นที่ เช่น คณะทำงาน 5x5 / อคม. / อปสข. พัฒนาคุณภาพในพื้นที่ 1.ประเมินคุณภาพบริการโดยกำหนดตัวชี้วัดผลงานบริการ ส่วนกลาง -กำหนดแนวทางการคัดเลือกตัวชี้วัด /ใช้กลไกการมีส่วนร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัดกลาง - ไม่เกิน 10 ตัว บูรณาการร่วม สปสช. สธ. สสส. ปัจจุบัน 6 ตัว กำหนดใช้ทุกเขต 2) ตัวชี้วัดระดับเขต - ไม่เกิน 5 ตัว สอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ ใช้กลไกการมีส่วนร่วมกับผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ และผ่านอปสข. 2. จัดสรรให้หน่วยบริการที่มีผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดคุณภาพฯที่เกินเป้าหมายโดยสปสช.เขต จัดตั้งคณะทำงาน/ใช้กลการมีส่วนร่วมในพื้นที่ เพื่อกำหนดแนวทางการจัดสรร (ค่าเป้าหมาย / น้ำหนักคะแนน /เกณฑ์การให้คะแนน และสัดส่วนงบประมาณ) สคม._ 29 มิ.ย. 61

ตัวชี้วัดกลาง งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2562 รายการตัวชี้วัดกลาง ตัวชี้วัดที่ 1: ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน โดยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัดที่ 3 : ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี 30-60 ปี ภายใน 5 ปี ตัวชี้วัดที่ 5 : ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอก 5.1 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea) 5.2 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Infection) ตัวชี้วัดที่ 6 : การลดลงของอัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลด้วยกลุ่มโรคที่ควรรักษาแบบผู้ป่วยนอก (ACSC: Ambulatory Care Sensitive Condition) ในโรคลมชัก (Epilepsy) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) หืด (Asthma) เบาหวาน (Diabetes Mellitus) และ ความดันโลหิตสูง (Hypertension)

ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดกลาง ปีงบประมาณ 2560 -2561 ภาพรวมประเทศ ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดกลาง ปีงบประมาณ 2560 -2561 ภาพรวมประเทศ รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัดกลาง ปีงบประมาณ 2560 2561 C101 ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน โดยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด 59.34 56.29 C102 ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74ปี ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง 60.86 56.87 C103 ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ 53.80 53.23 C104 ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี อายุ 30-60 ปี ภายใน 5 ปี 39.85 41.80 C105 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอก   5.1 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea) 38.68 19.75 5.2 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Respiratory Infection) 32.72 16.15 C106 การลดลงของอัตราการนอนโรงพยาบาลด้วยภาวะที่ควรควบคุมด้วยบริการผู้ป่วยนอก (ACSC: ambulatory care sensitive condition) ในโรคลมชัก (epilepsy) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) หืด (asthma) เบาหวาน (DM) และความดันโลหิตสูง (HT) 1.86 *(6 เดือน-T1,T2) 31.77 วันที่ปรับปรุงข้อมูล : Jun 10, 2018 9:42:15 AM ข้อมูลล่าสุด 31 มี.ค. 2561 ที่มา : งานคลังข้อมูล สำนักบริหารสารสนเทศการประกัน

ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดกลาง ปีงบประมาณ 2560 – 2561 แยกรายสปสช.เขต 1.ScreeningDM 2.Screening HT 3.ANC 4.Papsmear 5.1Diarrhea 5.2 Res Infection 6.ACSC ปีงบ 60 ปีงบ 61 เขต 1 เชียงใหม่ 53.90 53.59 56.03 53.21 54.64 55.25 47.91 51.78 32.79 19.07 31.13 16.37 - 14.08 - 5.02 เขต 2 พิษณุโลก 66.13 67.92 65.28 66.58 57.23 57.25 43.72 50.21 43.32 22.89 38.25 18.24 - 12.39 11.77 เขต 3 นครสวรรค์ 68.97 62.23 68.91 61.60 57.29 56.68 44.84 45.31 45.21 18.55 40.06 15.90 - 7.35 35.93 เขต 4 สระบุรี 61.57 59.57 63.73 60.57 43.14 42.43 32.38 36.98 39.85 22.49 35.75 18.23 - 16.32 26.07 เขต 5 ราชบุรี 65.16 67.04 66.04 67.05 47.56 46.47 36.89 36.80 43.46 20.50 43.00 18.92 - 16.72 13.99 เขต 6 ระยอง 64.03 52.88 65.08 53.58 43.12 42.25 31.07 33.25 44.53 24.22 40.25 20.87 5.00 46.25 เขต 7 ขอนแก่น 75.47 72.84 76.13 73.35 53.73 49.68 48.15 49.48 38.41 17.34 29.63 14.46 2.03 61.82 เขต 8 อุดรธานี 78.27 87.18 78.37 86.99 61.94 62.21 52.16 58.65 35.18 15.15 28.02 11.25 - 9.86 39.58 เขต 9 นครราชสีมา 57.21 54.02 60.28 55.82 49.12 49.02 41.06 38.54 36.01 17.54 29.81 15.01 15.74 48.27 เขต 10 อุบลราชธานี 62.22 54.35 63.12 54.53 58.14 61.52 49.94 55.34 44.66 18.94 29.93 13.61 32.63 67.21 เขต 11 สุราษฎร์ธานี 57.22 32.32 32.03 52.20 50.83 33.01 37.89 37.10 21.25 35.13 19.44 34.54 - 7.84 เขต 12 สงขลา 62.00 59.59 61.70 59.10 62.11 60.10 37.82 31.71 17.64 23.31 14.02 19.34 62.14 เขต 13 กรุงเทพฯ 6.95 10.78 13.66 14.27 47.58 20.04 12.92 11.55 - 10.54 - 9.91 1.18 ภาพรวมประเทศ 59.343 56.29 60.862 56.87 53.8 53.23 39.855 41.80 38.687 19.75 32.721 16.15 1.87 31.77        วันที่ปรับปรุงข้อมูล : Jun 10, 2018 9:42:15 AM ข้อมูลล่าสุด 31 มี.ค. 2561 ที่มา : งานคลังข้อมูล สำนักบริหารสารสนเทศการประกัน เอกสารประกอบ

ตัวชี้วัดพื้นที่ งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2562 รายการตัวชี้วัดพื้นที่เขต12 (1) ตัวชี้วัดที่ 7: ร้อยละของผู้สูงอายุที่ต้องการความช่วยเหลือในการดำเนินกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน ตัวชี้วัดที่ 7.1 ร้อยละความครอบคลุมของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและประเมินสมรรถนะ ด้วยเครื่องมือ Activity of Daily Living (ADL) ตัวชี้วัดที่ 7.2 ร้อยละความครอบคลุมของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและประเมินสมรรถนะ ด้วยเครื่องมือ Activity of Daily Living (ADL) มี ADL น้อยกว่าหรือเท่ากับ 11 คะแนน ที่ได้รับการดูแลเยี่ยมบ้านโดยบุคลากรสาธารณสุข ตัวชี้วัดที่ 8: ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีมีการพัฒนาการสมวัย ตัวชี้วัดที่ 8.1 ร้อยละความครอบคลุมของเด็ก 9 18 30 และ 42 เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ตัวชี้วัดที่ 8.2 ร้อยละความครอบคลุมของเด็ก 9 18 30 และ 42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ และพบสงสัยพัฒนาการล่าช้า ตัวชี้วัดที่ 8.3 ร้อยละความครอบคลุมของเด็ก 9 18 30 และ 42 เดือน ที่มีผลคัดกรองสงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการโดยผู้ปกครอง และติดตามภายใน 30 วัน

ตัวชี้วัดพื้นที่ งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2562 รายการตัวชี้วัดพื้นที่เขต12 (2) ตัวชี้วัดที่ 9: ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับบริการป้องกันฟันผุด้วยการทาฟลูออไรด์วานิช ตัวชี้วัดที่ 9.1 ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ตัวชี้วัดที่ 9.2 ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุ 18 เดือน – 2 ปี 11 เดือน 29 วัน ได้รับการทาฟลูออไรด์ วานิช อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี ตัวชี้วัดที่ 10: อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิต

ปีงบประมาณ 2562 สปสช.เขต 12 สงขลา รายการตัวชี้วัดส่วนกลาง การกำหนดน้ำหนักคะแนนรายตัวชี้วัดและตัวชี้วัดย่อย งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2562 สปสช.เขต 12 สงขลา   รายการตัวชี้วัดส่วนกลาง น้ำหนักคะแนน ตัวชี้วัดที่ 1:ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน โดยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด 100 ตัวชี้วัดที่ 2: ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74ปี ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัดที่ 3: ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ ตัวชี้วัดที่ 4: ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี 30-60 ปี ภายใน 5 ปี ตัวชี้วัดที่ 5: ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอก ตัวชี้วัดที่ 5.1  ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea) 50 ตัวชี้วัดที่ 5.2 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Infection) ตัวชี้วัดที่ 6: การลดลงของอัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลด้วยกลุ่มโรคที่ควรรักษาแบบผู้ป่วยนอก (ACSC: Ambulatory Care Sensitive Condition) ในโรคลมชัก (Epilepsy) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) หืด (Asthma) เบาหวาน (Diabetes Mellitus) และ ความดันโลหิตสูง (Hypertension)

ปีงบประมาณ 2562 สปสช.เขต 12 สงขลา รายการตัวชี้วัดระดับพื้นที่ การกำหนดน้ำหนักคะแนนรายตัวชี้วัดและตัวชี้วัดย่อย งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2562 สปสช.เขต 12 สงขลา   รายการตัวชี้วัดระดับพื้นที่ น้ำหนักคะแนน ตัวชี้วัดที่ 7: ร้อยละของผู้สูงอายุที่ต้องการความช่วยเหลือในการดำเนินกิจวัตรประจำวัน พื้นฐาน ตัวชี้วัดที่ 7.1 ร้อยละความครอบคลุมของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและประเมินสมรรถนะ ด้วยเครื่องมือ Activity of Daily Living (ADL) 70  ตัวชี้วัดที่ 7.2 ร้อยละความครอบคลุมของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและ ประเมินสมรรถนะ ด้วยเครื่องมือ Activity of Daily Living (ADL) มี ADL น้อยกว่าหรือเท่ากับ 11 คะแนน ที่ได้รับการดูแลเยี่ยมบ้านโดยบุคลากร สาธารณสุข 30 ตัวชี้วัดที่ 8: ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีมีการพัฒนาการสมวัย ตัวชี้วัดที่ 8.1 ร้อยละความครอบคลุมของเด็ก 9 18 30 และ 42 เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ 25 ตัวชี้วัดที่ 8.2 ร้อยละความครอบคลุมของเด็ก 9 18 30 และ 42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ และพบสงสัยพัฒนาการล่าช้า 50 ตัวชี้วัดที่ 8.3 ร้อยละความครอบคลุมของเด็ก 9 18 30 และ 42 เดือน ที่มีผลคัดกรองสงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการโดยผู้ปกครอง และติดตามภายใน 30 วัน ตัวชี้วัดที่ 9: ร้อยละของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับบริการป้องกันฟันผุด้วยการทาฟลูออไรด์วา นิช ตัวชี้วัดที่ 9.1 ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช 60 ตัวชี้วัดที่ 9.2 ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุ 18 เดือน – 2 ปี 11 เดือน 29 วัน ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี 40 ตัวชี้วัดที่ 10: อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิต 100 รวมคะแนนตัวชี้วัดส่วนกลาง + ตัวชี้วัดพื้นที่ = 1,000

ปีงบประมาณ 2562 สปสช.เขต 12 สงขลา รายการตัวชี้วัดส่วนกลาง การกำหนดค่าเป้าหมายรายตัวชี้วัดและตัวชี้วัดย่อย งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2562 สปสช.เขต 12 สงขลา   รายการตัวชี้วัดส่วนกลาง ค่าเป้าหมาย น้ำหนักคะแนน ตัวชี้วัดที่ 1: ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน โดยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด (เป้าหมาย>=90%) 100 ตัวชี้วัดที่ 2: ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74ปี ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง (เป้าหมาย>=90%) ตัวชี้วัดที่ 3: ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรก ภายใน 12 สัปดาห์ (เป้าหมาย>=60%) ร้อยละ คะแนน มากกว่า 90 5 74.01 – 90.00 4 50.01 – 74.00 3 34.00 – 50.00 2 น้อยกว่า 34.00 1 ร้อยละ คะแนน มากกว่า 90 5 74.01 – 90.00 4 50.01 – 74.00 3 34.00 – 50.00 2 น้อยกว่า 34.00 1 ร้อยละ คะแนน มากกว่า 89 5 76.00 – 89.00 4 60.00 – 75.99 3 44.00 – 59.99 2 น้อยกว่า 44.00 1

ปีงบประมาณ 2562 สปสช.เขต 12 สงขลา การกำหนดค่าเป้าหมายรายตัวชี้วัดและตัวชี้วัดย่อย งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2562 สปสช.เขต 12 สงขลา   รายการตัวชี้วัดส่วนกลาง ค่าเป้าหมาย น้ำหนักคะแนน ตัวชี้วัดที่ 4: ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี 30-60 ปี ภายใน 5 ปี (เป้าหมาย>=80%) 100 ตัวชี้วัดที่ 5: ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอก  ตัวชี้วัดที่ 5.1 ร้อยละการใช้ยา ปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบ ในผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระร่วง เฉียบพลัน (Acute Diarrhea) (เป้าหมาย<=20%) 50 ตัวชี้วัดที่ 5.2 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ (Respiratory Infection) (เป้าหมาย<=20%) ร้อยละ คะแนน มากกว่า 80 5 60.01 – 80.00 4 40.01 – 60.00 3 30.01 – 40.00 2 น้อยกว่า 30.00 1 ร้อยละใบสั่งยาผป.ที่ได้รับยาปฏิชีวนะ (ของเดิม) คะแนน น้อยกว่า 20 5 20.00 – 30.00 3 30.01 – 40.00 1 มากกว่า 40.00 ร้อยละใบสั่งยาผป.ที่ได้รับยาปฏิชีวนะ คะแนน น้อยกว่าหรือเท่ากับ 20 5 20.01 – 25.00 3 25.01 – 30.00 1 มากกว่า 30.01 ร้อยละใบสั่งยาผป.ที่ได้รับยาปฏิชีวนะ คะแนน น้อยกว่าหรือเท่ากับ 20 5 20.01 – 30.00 3 30.01 – 40.00 1 มากกว่า 40.01

ปีงบประมาณ 2562 สปสช.เขต 12 สงขลา รายการตัวชี้วัดส่วนกลาง การกำหนดค่าเป้าหมายรายตัวชี้วัดและตัวชี้วัดย่อย งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2562 สปสช.เขต 12 สงขลา   รายการตัวชี้วัดส่วนกลาง ค่าเป้าหมาย น้ำหนักคะแนน ตัวชี้วัดที่ 6: การลดลงของอัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลด้วยกลุ่มโรคที่ควรรักษาแบบผู้ป่วยนอก (ACSC: Ambulatory Care Sensitive Condition) ในโรคลมชัก (Epilepsy) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) หืด (Asthma) เบาหวาน (Diabetes Mellitus) และ ความดันโลหิตสูง (Hypertension) (เป้าหมาย<=6.58ต่อแสนประชากร) 100 ร้อยละ คะแนน น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10.00 5 7.01 – 10.00 4 4.01 – 7.00 3 1.00 – 4.00 2 น้อยกว่า 1.00 1

ปีงบประมาณ 2562 สปสช.เขต 12 สงขลา รายการตัวชี้วัดระดับพื้นที่ การกำหนดค่าเป้าหมายรายตัวชี้วัดและตัวชี้วัดย่อย งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2562 สปสช.เขต 12 สงขลา   รายการตัวชี้วัดระดับพื้นที่ ค่าเป้าหมาย น้ำหนักคะแนน ตัวชี้วัดที่ 7: ร้อยละของผู้สูงอายุที่ต้องการความช่วยเหลือในการดำเนินกิจวัตรประจำวัน พื้นฐาน ตัวชี้วัดที่ 7.1 ร้อยละความครอบคลุมของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและประเมินสมรรถนะ ด้วยเครื่องมือ Activity of Daily Living (ADL) (เป้าหมาย>=90%) 70  ตัวชี้วัดที่ 7.2 ร้อยละความครอบคลุมของ ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและประเมินสมรรถนะ ด้วยเครื่องมือ Activity of Daily Living (ADL) มี ADL น้อยกว่าหรือเท่ากับ 11 คะแนน ที่ได้รับ การดูแลเยี่ยมบ้านโดยบุคลากรสาธารณสุข (เป้าหมาย>=80%) 30 ร้อยละ คะแนน มากกว่า 90.00 5 80.00 – 90.00 4 70.00 – 79.99 3 60.00 – 69.99 2 น้อยกว่า 60.00 1 ร้อยละ คะแนน มากกว่า 80.00 5 70.00 – 79.99 4 60.00 – 69.99 3 50.00 – 59.99 2 น้อยกว่า 50.00 1

ปีงบประมาณ 2562 สปสช.เขต 12 สงขลา รายการตัวชี้วัดระดับพื้นที่ การกำหนดค่าเป้าหมายรายตัวชี้วัดและตัวชี้วัดย่อย งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2562 สปสช.เขต 12 สงขลา   รายการตัวชี้วัดระดับพื้นที่ ค่าเป้าหมาย น้ำหนักคะแนน ตัวชี้วัดที่ 8: ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีมีการพัฒนาการสมวัย ตัวชี้วัดที่ 8.1 ร้อยละความครอบคลุมของเด็ก 9 18 30 และ 42 เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ (เป้าหมาย>=95%) 25 ตัวชี้วัดที่ 8.2 ร้อยละความครอบคลุมของเด็ก 9 18 30 และ 42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ และพบสงสัยพัฒนาการล่าช้า (เป้าหมาย>=20%) 50 ตัวชี้วัดที่ 8.3 ร้อยละความครอบคลุมของเด็ก 9 18 30 และ 42 เดือน ที่มีผลคัดกรองสงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการโดยผู้ปกครอง และติดตามภายใน 30 วัน (เป้าหมาย>=90%) ร้อยละ คะแนน มากกว่า 95.00 5 90.00 – 95.00 4 85.00 – 89.99 3 80.00 – 84.99 2 น้อยกว่า 80.00 1 ร้อยละ คะแนน มากกว่า 20.00 5 18.00 – 20.00 4 16.00 – 17.99 3 14.00 – 15.99 2 น้อยกว่า 14.00 1 ร้อยละง คะแนน มากกว่า 90.00 5 85.00 – 89.99 4 80.00 – 84.99 3 75.00 – 79.99 2 น้อยกว่า 75.00 1

ปีงบประมาณ 2562 สปสช.เขต 12 สงขลา รายการตัวชี้วัดระดับพื้นที่ การกำหนดค่าเป้าหมายรายตัวชี้วัดและตัวชี้วัดย่อย งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ปีงบประมาณ 2562 สปสช.เขต 12 สงขลา   รายการตัวชี้วัดระดับพื้นที่ ค่าเป้าหมาย น้ำหนักคะแนน ตัวชี้วัดที่ 9: ร้อยละของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับบริการป้องกันฟันผุด้วยการทาฟลูออไรด์วา นิช ตัวชี้วัดที่ 9.1 ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์ วานิช (เป้าหมาย>=60%) 60 ตัวชี้วัดที่ 9.2 ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุ 18 เดือน – 2 ปี 11 เดือน 29 วัน ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี (เป้าหมาย>=40%) 40 ตัวชี้วัดที่ 10: การลดลงของอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิต (เป้าหมายอัตราตายลดลง>=2%) 100 ร้อยละ คะแนน มากกว่า 70.00 5 65.00 – 70.00 4 60.00 – 64.99 3 55.00 – 59.99 2 น้อยกว่า 55.00 1 ร้อยละ คะแนน มากกว่า 50.00 5 45.00 – 50.00 4 40.00 – 44.99 3 35.00 – 39.99 2 น้อยกว่า 35.00 1 ร้อยละที่ลดลง คะแนน มากกว่าหรือเท่ากับ 1.60 5 1.20 – 1.59 4 00.80 – 1.19 3 0.40 – 0.79 2 น้อยกว่า 0.40 1

ผลงานบริการจ่ายตามเกณฑ์ คุณภาพผลงานบริการ Quality Outcomes Framework ปี 2561

C1 ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74 ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวาน โดยการตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด ปี 2560 ปี 2561 เป้าหมาย>=90% เป้าหมาย>=90% ค่าเฉลี่ยเขต=62.0% ฐานข้อมูลสปสช. ค่าเฉลี่ยเขต=90.47% ฐานข้อมูลHDC

C2 ร้อยละของประชากรไทยอายุ 35-74ปี ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง ปี 2560 ปี 2561 เป้าหมาย>=90% ค่าเฉลี่ยเขต=91.57% ฐานข้อมูลHDC ค่าเฉลี่ยเขต=61.9% ฐานข้อมูลสปสช.

C3 ร้อยละของหญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ ปี 2560 ปี 2561 เป้าหมาย>=60% ค่าเฉลี่ยเขต=83% ฐานข้อมูลHDC ค่าเฉลี่ยเขต=61.9% ฐานข้อมูลสปสช.

C4 ร้อยละสะสมความครอบคลุมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี 30-60 ปี ภายใน 5 ปี ปี 2560 ปี 2561 เป้าหมาย>=80% เป้าหมาย>=80% ค่าเฉลี่ยเขต=47.0% ฐานข้อมูลสปสช. ค่าเฉลี่ยเขต=39.61% ฐานข้อมูลHDC

C5.1  ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea) 17.64 14.02 ปี 2560 ปี 2561 เป้าหมาย ไม่เกิน 40% เป้าหมาย ไม่เกิน 40% ค่าเฉลี่ยเขต= 20.38% ฐานข้อมูลHDC ค่าเฉลี่ยเขต=31.7%

C5.2 ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคติดเชื้อระบบ ทางเดินหายใจ (Respiratory Infection) 17.64 14.02 ปี 2560 ปี 2561 เป้าหมาย ไม่เกิน 40% ค่าเฉลี่ยเขต=23.3% ค่าเฉลี่ยเขต=15.89% ฐานข้อมูลHDC

เป้าหมายลดลง>=6.58ต่อแสนปชก. C6: การลดลงของอัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลด้วยกลุ่มโรคที่ควรรักษาแบบผู้ป่วยนอก (ACSC: Ambulatory Care Sensitive Condition) ในโรคลมชัก (Epilepsy) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) หืด (Asthma) เบาหวาน (Diabetes Mellitus) และ ความดันโลหิตสูง (Hypertension) เป้าหมายลดลง>=6.58ต่อแสนปชก. 29.04 66.20 160.48 1.30 31.95 120.37 69.23

R7 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ต้องการความช่วยเหลือในการดำเนินกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน 7.1 ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองและประเมินสมรรถนะเพื่อการดูแลด้วยเครื่องมือ Activity of Daily Living (ADL) ปี 2560 ปี 2561 เป้าหมาย>=90% ค่าเฉลี่ยเขต=91.3% เป้าหมาย>=90% ค่าเฉลี่ยเขต=87.96%

R7 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ต้องการความช่วยเหลือในการดำเนินกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน 7.2 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองและประเมินสมรรถนะที่ต้องการความช่วยเหลือ ในการดำเนินกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน(น้อยกว่าหรือเท่ากับ 11 คะแนน) ได้รับการดูแลเยี่ยมบ้านโดยบุคลากรสาธารณสุข ปี 2561 ค่าเฉลี่ยเขต= 90.08%

R8 ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีมีพัฒนาการสมวัย 8.1ร้อยละความครอบคลุมของเด็ก 9 18 30 และ 42 เดือนได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2560 เป้าหมาย>=95% เป้าหมาย>=95% ค่าเฉลี่ยเขต=93.1% ค่าเฉลี่ยเขต=92.87%

R8 ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีมีพัฒนาการสมวัย 8.2 ร้อยละความครอบคลุมของเด็ก 9 18 30 และ 42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ และพบสงสัยพัฒนาการล่าช้า ปี 2561 ปี 2560 เป้าหมาย>=95% ค่าเฉลี่ยเขต=93.1% เป้าหมาย 20% เป้าหมาย 20% ค่าเฉลี่ยเขต=23.04%

R8 ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีมีพัฒนาการสมวัย 8.3 ร้อยละเด็ก 9 18 30 และ 42 เดือน ที่มีผลคัดกรองสงสัยพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการโดยผู้ปกครอง และติดตามภายใน 30 วัน ปี 2561 ปี 2560 ค่าเฉลี่ยเขต=91.7% เป้าหมาย >=90% เป้าหมาย>=90% ค่าเฉลี่ยเขต=93.11%

R9ร้อยละของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับบริการป้องกันฟันผุด้วยการทาฟลูออไรด์วานิช 9.1 ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ปี 2561 ปี 2560 เป้าหมาย>=60% เป้าหมาย >=60% ค่าเฉลี่ยเขต=69.4% ค่าเฉลี่ยเขต=68.34%

R9 ร้อยละของเด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับบริการป้องกันฟันผุด้วยการทาฟลูออไรด์วานิช 9.2 ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุ 18 เดือน – 2 ปี 11 เดือน 29 วัน ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี ปี 2561 เป้าหมาย >=40% ค่าเฉลี่ยเขต=61.94%

R10 อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิต เป้าหมายลดลง >=2 % เป้าหมายลดลง >=2 % ค่าเฉลี่ยเขตลดลง=2.51% ค่าเฉลี่ยเขตลดลง=1.45% ปี60 - 61 ปี59 - 60 4.99% 3.65% 2.68% 5.63% 2.80% 1.43% 0.81% 2.43% 0.57% 4.58% 1.81% 6.06% 1.28% 3.42%

Download เอกสาร คู่มือ QOF , PPT สายชล ผาณิตพจมาน สปสช.เขต12 สงขลา Line id : 090-1975260 saichol.p@nhso.go.th Download เอกสาร คู่มือ QOF , PPT https://songkhla.nhso.go.th/FrontEnd/Index.aspx