กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บโดยสถานบริการสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 7 มีนาคม 2557 ณ ห้องประชุมไพลิน1 โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
ที่มาและความสำคัญ การบาดเจ็บเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เป็นสาเหตุของการตายก่อนวัยอันควรและพิการ พบมากในกลุ่มเด็ก เยาวชน และวัยทำงาน ส่งผลกระทบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และเศรษฐกิจของประเทศ
สาเหตุของการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทั่วโลก แหล่งที่มา : WHO, Injuries and Violence The facts. 2010
วัตถุประสงค์ เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการดำเนินงานป้องกัน การบาดเจ็บโดยสถานบริการสาธารณสุขและเครือข่าย (การบาดเจ็บในเด็ก การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน การพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ และความรุนแรง)
ขอบเขตของแนวทางฯ ใช้เป็นแนวปฏิบัติในการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ โดยสถานบริการสาธารณสุข ตั้งแต่ รพศ. รพท. รพช. และ รพ.สต. ประกอบด้วย 4 เรื่อง ได้แก่ การบาดเจ็บในเด็ก การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน การพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ และความรุนแรง เน้นการดำเนินงาน ณ จุดบริการของสถานพยาบาล ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน และหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน รวมถึงการจัดสิ่งแวดล้อมในสถานพยาบาล การสอนแสดง สาธิต ให้ความรู้แก่ ผู้มารับบริการครอบครัว และชุมชน เพื่อป้องกัน/ลดปัจจัยเสี่ยง
Out line ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 (ร่าง) แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ โดยสถานบริการสาธารณสุข 1. การบาดเจ็บในเด็ก 2. การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน 3. การบาดเจ็บจากการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ 4. การบาดเจ็บจากความรุนแรง ส่วนที่ 3 ภาคผนวก - สถานการณ์ ปัจจัยเสี่ยง และข้อแนะนำ - แบบประเมิน - คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานจัดทำแนวทางฯ
Time Frame 1. ทบทวนสถานการณ์การบาดเจ็บ กิจกรรม ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1. ทบทวนสถานการณ์การบาดเจ็บ 2. แต่งตั้งคณะทำงานและคณะกรรมการจัดทำแนวทางฯ 3. ประชุมคณะทำงาน เพื่อเสนอ พิจารณา และให้ข้อคิดเห็น ร่างแนวทางฯ 4. ประชุมคณะกรรมการ เพื่อเสนอ พิจารณา และให้ข้อคิดเห็น ร่างแนวทางฯ 5. จัดทำร่างแนวทางฯ 6. พัฒนาศักยภาพ สคร. และจังหวัดพื้นที่เสี่ยงสูงนำร่างแนวทางฯ ไปทดลองใช้ 7. ประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นหลังจากการนำร่างแนวทางฯ ไปทดลองใช้ 8. ปรับปรุงและเผยแพร่แนวทางฯ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรค พื้นที่เป้าหมาย สำนักงานป้องกันควบคุมโรค จังหวัดเป้าหมาย สคร. 1 กรุงเทพฯ ปทุมธานี สคร. 2 จังหวัดสระบุรี สระบุรี สิงห์บุรี สคร. 3 จังหวัดชลบุรี ชลบุรี ตราด ปราจีนบุรี สคร. 4 จังหวัดราชบุรี กาญจนบุรี นครปฐม สคร. 5 จังหวัดนครราชสีมา สุรินทร์ บุรีรัมย์ สคร. 6 จังหวัดขอนแก่น ขอนแก่น กาฬสินธุ์ อุดรธานี สคร. 7 จังหวัดอุบลราชธานี อุบลราชธานี ศรีสะเกษ สคร. 8 จังหวัดนครสวรรค์ นครสวรรค์ สคร. 9 จังหวัดพิษณุโลก พิษณุโลก สคร. 10 จังหวัดเชียงใหม่ เชียงใหม่ น่าน เชียงราย สคร. 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ชุมพร นครศรีธรรมราช สคร. 12 จังหวัดสงขลา สงขลา สตูล
จังหวัดเสี่ยงสูงต่อการบาดเจ็บ จังหวัดเป้าหมาย Child Injuries RTI Falls Violence ปทุมธานี สระบุรี สิงห์บุรี ชลบุรี ตราด ปราจีนบุรี กาญจนบุรี นครปฐม สุรินทร์ บุรีรัมย์ ขอนแก่น กาฬสินธุ์ อุดรธานี
จังหวัดเสี่ยงสูงต่อการบาดเจ็บ (ต่อ) จังหวัดเป้าหมาย Child Injuries RTI Falls Violence อุบลราชธานี ศรีสะเกษ นครสวรรค์ พิษณุโลก เชียงใหม่ น่าน เชียงราย สุราษฎร์ธานี ชุมพร นครศรีธรรมราช สงขลา สตูล
แนวทางการดำเนินงานฯ 4 เรื่อง 1. การบาดเจ็บในเด็ก นางสุชาดา เกิดมงคลการ Jew_suchada@hotmail.com 08 9218 8159 Som_atat@yahoo.com 08 9130 3519 2. การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน นายขจรศักดิ์ จันทร์พาณิชย์ Khajohn_j@hotmail.com 08 4672 4678
แนวทางการดำเนินงานฯ 4 เรื่อง 3. การบาดเจ็บจากการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ นางสาวลวิตรา ก๋าวี 08 0687 3606 Kookkik.lawitra@gmail.com 4. การบาดเจ็บจากความรุนแรง นางสาวนิพา ศรีช้าง Srichang_ncd@hotmail.com 08 1363 8810
การบาดเจ็บในเด็ก Child Injury Injury Prevention Section, NCD
การบาดเจ็บในเด็ก (Child Injury) (ร่าง) แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บในเด็กโดยสถานบริการสาธารณสุข แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บโดยสถานบริการสาธารณสุข\1. flowchart แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก.pdf แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บโดยสถานบริการสาธารณสุข\5. แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก.pdf แบบประเมินความเสี่ยงของเด็กต่อการเกิดอุบัติเหตุจากสาเหตุต่างๆ แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บโดยสถานบริการสาธารณสุข\9. แบบการประเมินความเสี่ยงของเด็กต่อการเกิดอุบัติเหตุ .pdf
การบาดเจ็บจาก อุบัติเหตุทางถนน Road Traffic Injury Injury Prevention Section, NCD
การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน (ร่าง) แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนโดยสถานบริการสาธารณสุข แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บโดยสถานบริการสาธารณสุข\2. flowchart แนวทางการดำเนินงานป้องกันการการบาดเจ็บกลุ่มวัยแรงงาน.pdf แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บโดยสถานบริการสาธารณสุข\6. แนวทางการดำเนินงานป้องกันการการบาดเจ็บกลุ่มวัยแรงงาน.pdf
การบาดเจ็บจากการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ Falls in Elderly Injury Prevention Section, NCD
สถานการณ์การพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตประมาณปีละ 424,000 คน เฉลี่ยวันละ 1,160 คน ร้อยละ 80 พบในประเทศที่มีรายได้ต่ำถึงปานกลาง ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตปีละกว่า 1,600 คน โดย 1 ใน 3 เป็นผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป เพศชายสูงกว่าเพศหญิง 3.5 เท่า ความชุกของการพลัดตกหกล้มภายใน 6 เดือนที่ผ่านมาร้อยละ 18.5 เป็นเพศหญิงสูงกว่าเพศชาย 1.5 เท่า เพศหญิง หกล้มในตัวบ้านและในบริเวณรั้วบ้าน เพศชาย หกล้มบริเวณนอกบ้าน ขณะเดินทาง และสถานที่ทำงาน พื้นลื่น สะดุดสิ่งกีดขวาง การเสียการทรงตัว พื้นต่างระดับ หน้ามืดวิงเวียน
จังหวัดที่มีผู้สูงอายุเสียชีวิตสูงสุด 10 อันดับแรก ลำดับ ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 จังหวัด อัตรา 1 ชุมพร 20.61 23.44 ภูเก็ต 22.50 เชียงราย 27.24 นครสวรรค์ 28.31 2 16.78 น่าน 22.59 20.26 ลำปาง 27.21 พิษณุโลก 23.60 3 อุบลราชธานี 14.02 15.72 นครนายก 19.50 พะเยา 24.91 23.45 4 นครปฐม 10.18 จันทบุรี 14.65 16.09 24.76 แม่ฮ่องสอน 23.03 5 9.00 ฉะเชิงเทรา 14.58 13.01 22.53 22.25 6 สิงห์บุรี 8.94 ระยอง 10.51 12.98 ประจวบคีรีขันธ์ 20.23 21.23 7 7.92 10.16 12.28 แพร่ 19.93 เพชรบูรณ์ 20.13 8 ชัยนาท 7.91 9.65 11.80 18.85 18.21 9 ตรัง 7.88 พิจิตร 9.58 10.57 17.67 ตาก 17.77 10 สุราษฎร์ธานี 7.87 9.45 10.50 เลย 16.82 ตราด 14.93 แหล่งที่มา: ข้อมูลการเสียชีวิตจากมรณบัตร, สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
การบาดเจ็บจากการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ (ร่าง) แนวทางการดำเนินงานป้องกันการพลัดตกหกล้มโดยสถานบริการสาธารณสุข แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บโดยสถานบริการสาธารณสุข\3. flowchart แนวทางการดำเนินงานป้องกันการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ.pdf แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บโดยสถานบริการสาธารณสุข\7. แนวทางการดำเนินงานป้องกันการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ.pdf แบบประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บโดยสถานบริการสาธารณสุข\10. แบบประเมินการพลัดตกหกล้ม.pdf
การบาดเจ็บจาก ความรุนแรง Violence Injury Prevention Section, NCD
สถานการณ์การบาดเจ็บจากความรุนแรง ประเทศไทย มีผู้เสียชีวิตจากเจตนาฆ่าตัวตาย มากถึง ๓,๙๘๕ คน/ปี ขณะที่มีผู้เสียชีวิตจาก ถูกทำร้าย ๒,๙๗๕ คน/ปี และพบผู้เจตนาฆ่า ตัวตายสูงในภาคเหนือ แต่ภาคใต้ส่วนใหญ่จะถูก ทำร้ายตาย จาก IS พบว่า จำนวนผู้บาดเจ็บจากการตั้งใจ ทำร้ายตนเองมีแนวโน้มลดลง แต่การเสียชีวิต กลับเพิ่มสูงขึ้น ผู้บาดเจ็บเป็นเพศหญิงมากกว่า เพศชาย แต่ผู้เสียชีวิตเป็นเพศชายมากกว่าเพศ หญิง กว่า ๑ ใน ๓ ของการถูกทำร้ายเป็นผู้ใช้ แรงงาน จากการสำรวจ พบว่า มีการกระทำความรุนแรง ในครอบครัวร้อยละ ๘.๑๒ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากเมาสุรา ความเครียด/ สุขภาพจิต และเสพยาเสพติด และหึงหวง/ นอกใจ
อัตราตายต่อประชากร 100,000 คน จากการถูกทำร้าย จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี พ.ศ. 2551 - 2555 แหล่งที่มา: ข้อมูลการเสียชีวิตจากมรณบัตร, สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
การบาดเจ็บจากความรุนแรง (ร่าง) แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากความรุนแรงโดยสถานบริการสาธารณสุข แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บโดยสถานบริการสาธารณสุข\4. flowchart แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บจากความรุนแรง.pdf แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บโดยสถานบริการสาธารณสุข\8. แนวทางการดำเนินงานป้องกันความรุนแรง.pdf แบบประเมินความเสี่ยงต่อการกระทำ/ถูกกระทำความรุนแรง แนวทางการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บโดยสถานบริการสาธารณสุข\11. แบบประเมินความเสี่ยงต่อความรุนแรง.pdf
Q & A
Thank You!