สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
Advertisements

(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
ผ.ศ(พิเศษ).น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
รูปแบบการวิจัย Research Design
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
Practical Epidemiology
การวัดทางระบาดวิทยา น.ส.วิภาวี ธรรมจำรัส.
การวัดการเกิดโรค พ.ท. ผศ.ราม รังสินธุ์ พ.บ. ส.ม. DrPH
ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์
ระบาดวิทยา Epidemiology.
MAP TA PHUT HEALTH DATABASE (RAYONG COHORT STUDY).
วิจัย Routine to Research ( R2R )
Measures of Association and Impact for HTA
พระบิดาแห่งประวัติศาสตร์ไทย “ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงรา ชานุภาพ ” ทรงเป็น พระราชโอรสองค์ที่ ๕๓ ในพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวรัชกาล ที่ ๔ และเจ้าจอม.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ เพื่อการทำวิจัยอย่างง่าย
"วิธีวิเคราะห์แบบสอบถาม หรือแบบประเมิน ด้วยโปรแกรม SPSS"
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
ระบาดวิทยาโรคไม่ติดต่อ
สถิติอ้างอิง: ไร้พารามิเตอร์ (Inferential Statistics: Nonparametric)
ทบทวนสถิติสำหรับการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
การแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูล
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
การสำรวจและอธิบายข้อมูล
Burden of disease measurement
การวัดและประเมินผลการศึกษา
การเขียนรายงานการสอบสวนทางระบาดวิทยา
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
แนวคิดพื้นฐานทางระบาดวิทยา
ระเบียบวิธีวิจัยทางธุรกิจโรงแรม และท่องเที่ยว
เภสัชกรหญิงหทัยรัตน์ โคตรสมพงษ์ ภบ., วท.ม. (เภสัชศาสตร์สังคมและบริหาร)
สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics)
การอ่านและให้คุณค่าบทความวิชาการ (Journal Article Appraisal)
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุคนธา ศิริ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
นพ.เฉวตสรร นามวาท กรมควบคุมโรค
ประเภทของการวิจัย อาจารย์พุทธิวัฒน์ ไวยวุฒิธนาภูมิ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติและโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ
บทที่ 10 สถิติเชิงบรรยาย
การสอบสวนทางระบาดวิทยา (Epidemiological investigation)
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
การวัดทางระบาดและดัชนีอนามัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ
ข้อมูล และ เครื่องมือเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ
อ.จงกล โพธิ์แดง ภาควิชาระบาดวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล 2559
Community health nursing process
การกระจายของโรคในชุมชน
ทักท้วงจากสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน กรณีการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รูปแบบการศึกษา ทางระบาดวิทยา
การสอบสวนโรค เฉพาะราย
Burden of Diseases (BOD) Disability Adjusted Life Years(DALY)
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชี
ประเด็นมุ่งเน้นยุทธศาสตร์ โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
Chapter 7 Clustering อาจารย์อนุพงศ์ สุขประเสริฐ
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
งานวิจัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา ดร.ชาญชัยณรงค์ ทรงคาศรี สบ.(สาธารณสุขศาสตร์) สบ.(บริหารสาธารณสุข) สม.(ชีวสถิติ) ปร.ด. (Environmental) นักวิชาการสาธารณสุข ชำนาญการ chanchainarong@yahoo.com กลุ่มระบาดวิทยา สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 ขอนแก่น

STAT.@EPID. Median Mean Mode Rang Rate Ratio Proportion % Descriptive Stat. Median Mean Mode Rang Rate Ratio Proportion % Dummy table Chart Graph Surveillance Diseases Distribution Determinant Epidemiology study - Descriptive - Analytical - Experimental Investigation - Outbreak - Epidemic Inference stat.

สรุป...ความหมายสเกลของการวัด นามบัญญัติ =แตกต่างกันทางคุณภาพ + ไม่มีลำดับ Nominal scale (บวกลบคูณหาร ไม่ได้) เพศ, หมายเลขนักฟุตบอล เรียงอันดับ =แตกต่างกันทางคุณภาพ + มีทิศทาง Ordinal scale การวัดทางจิตวิทยา …………………………………………………………. อันตรภาค =วัดได้ + มีอันดับ + มีทิศทาง+ Interval scale ระยะห่างเท่าๆกัน คะแนน, อุณหภูมิ(ศูนย์ไม่แท้) อัตราส่วน =วัดได้ + มีอันดับ + มีทิศทาง + ระยะห่าง Ratio scale ความสูง, นน. (ศูนย์แท้) จุดเริ่มจาก 0

ความรู้ทางสถิติที่จำเป็น จะทราบว่า “ปีนี้ที่นี่มีโรคไข้เลือดออกระบาด” จากไหน ? บัตร รง. 506, ไฟล์ข้อมูล, print out รายงานสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังฯ

ความรู้ทางสถิติที่จำเป็น จะทราบว่า “ปีนี้ที่นี่มีโรคไข้เลือดออกระบาด” อย่างไร ? สถิติที่ใช้ ได้แก่ 1. ……………. 2. ……………. 3. ……………. เขต ก. Median เขต ข. Median ปีปัจจุบัน

ความรู้ทางสถิติที่จำเป็น จะทราบว่า “ปีนี้ที่นี่มีโรคไข้เลือดออกระบาด” ที่ไหน ? สถิติที่ใช้ ได้แก่ 1. ……… 2. ……… 3. ……… RATE หมายเหตุ อัตราป่วยที่ใช้เป็นอัตราป่วยสมมติ

สถิติ การวัดการเกิดโรค

คำถามการวิจัย 2 ระดับ ขนาดของปัญหา ความชุกของโรคความดันสูงในประชากร มีจำนวนประชากรกี่คนที่ไม่ได้รับการบริการทางแพทย์ที่เหมาะสม ความสัมพันธ์ของปัจจัยต่อการเกิดปัญหา การเกิดโรคความดันสูงสัมพันธ์กับระดับการศึกษาหรือไม่? ผู้ที่ไม่ได้รับบริการทางการแพทย์ที่เหมาะสมมีความสัมพันธ์กับท้องถิ่นที่อาศัยอยู่?

คำถามการวิจัย 2 ระดับ : การวัดสถิติ ขนาดของปัญหา (วัดการเกิดโรค) ความชุก Prevalence อุบัติการ Incidence ความสัมพันธ์ของปัจจัยต่อการเกิดปัญหา (วัดขนาดของความสัมพันธ์) Risk Ratio ==RR.==> Cohort Study Odds Ratio ==OR.==> Case-Control Study Odds Ratio ==OR.==> Cross-Sectional Study

วิเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยา:สถานการณ์โรค/ภัย - คำนวณ/แปลความหมายค่าสถิติต่างๆ - อธิบายลักษณะระบาดวิทยาของโรค …ตอบคำถาม… What When Where Who How ระบาดวิทยาเชิงพรรณนา ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ แนวทางแก้ปัญหาที่จำเพาะ/ตรงสาเหตุ

สถิติดัชนี :ในระบาดวิทยา อัตรา (Rate) อัตราส่วน (Ratio) สัดส่วน (Proportion) ร้อยละ อัตราป่วย อัตราตาย อัตราป่วยตาย

A x k A สูตรการคำนวณ A + B B ก x k ก + ข + ค + ... อัตรา (Rate) = อัตราส่วน (Ratio) = = A : B * สัดส่วน(Proportion)= = ……….…. % (k = 100) A B ก x k ก + ข + ค + ... ข้อสังเกต อัตรา ใช้กับการเกิดเหตุการณ์ (เกิด, ตาย, ป่วย, ฯ) สัดส่วน ใช้กับการแบ่งกลุ่ม (คน,สัตว์,สิ่งของ,เหตุการณ์ฯ)

การวัดความถี่ของการเกิดโรค อัตรา “Rate” (มี 2 นัย) ตัวตั้งเป็นส่วนหนึ่งของตัวหาร อัตราการบาดเจ็บจากการจราจรในจ.ขอนแก่น เท่ากับ 81 ต่อประชากรแสนคน เป็นเรื่องที่มีมิติของเวลามาเกี่ยวข้อง อัตราอุบัติการณ์ของการติดเชื้อ HIV ในจ.ขอนแก่น ช่วงปี 1995 -1999 เท่ากับ 0.3 ต่อ 100 person-years

การวัดความถี่ของการเกิดโรค อัตราส่วน “Ratio” ความสัมพันธ์ระหว่าง จำนวน 2 จำนวน ตัวตั้งไม่ได้รวมอยู่ในตัวหาร Range: 0 to  ตัวอย่าง: อัตราส่วนระหว่างผู้ป่วยโรคเลปโตฯ ชาย หญิง = 3:1 ตัวฐาน ขึ้นกับ องค์ความรู้โรคนั้นๆ

การวัดความถี่ของการเกิดโรค สัดส่วน “Proportion” อัตราส่วนที่ตัวตั้งเป็นส่วนหนึ่งของตัวหาร มักแสดงเป็นร้อยละ Range: 0 to 1 A/(A+B) Example --------------------------------------------- สัดส่วนของการบาดเจ็บการจราจรที่เกิดจากมอเตอร์ไซค์ เท่ากับร้อยละ 81 ของการบาดเจ็บจากการจราจรทั้งหมด อย่าลืม “ของ…”

สรุป :การใช้อัตรา อัตราส่วน สัดส่วน อัตรา (Rate) ตัวหารเป็นจำนวนPOP.ที่เสี่ยงต่อการเป็นโรค/ภัย (เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์) อัตราของกลุ่มย่อยไม่สามารถนำมาบวกกันเป็นผลรวมได้ อัตราส่วน (Ratio) อัตราส่วนที่ไม่มีหน่วย นิยมให้ค่าน้อยเท่ากับ 1 อัตราส่วนที่มีหน่วย การแปลความ (จะมีลักษณะเฉพาะเสมือนเป็นอัตรานั้น ) สัดส่วน(Proportion) ใช้แทนอัตรากรณีไม่ทราบตัวหารที่เป็นจำนวนประชากรเสี่ยงฯ ผลรวมของสัดส่วนทั้งหมดเท่ากับ 1 หรือ 100 %

ดัชนีวัดการป่วยหรืออัตราป่วย (Morbidity rate) 1. ดัชนีการป่วยที่เกิดใหม่ - อัตราอุบัติการ (Incidence rate) - อัตราป่วยฉับพลัน (Attack rate)… สอบสวนการระบาด 2. ดัชนีการป่วยทั้งหมด (Prevalence rate) - อัตราความชุกของช่วงเวลาหนึ่ง(Period of time) - อัตราความชุก ณ.จุดหนึ่งของเวลา(Point of Time) 3. ดัชนีการป่วยจำเพาะ - อัตราป่วยจำเพาะ (Specific attack rate) - สัดส่วนสาเหตุการป่วย (Proportional morbidity rate)

การคำนวณอัตราป่วยที่สำคัญ 1.อัตราอุบัติการ (Incidence rate) = จำนวนผู้ป่วยรายใหม่xค่าคงที่ จำนวนประชากรที่เสี่ยงต่อโรคในช่วงเวลาเดียวกัน 2.อัตราความชุก (Prevalence rate) = (จำนวนผู้ป่วยรายใหม่+รายเก่าxค่าคงที่ หมายเหตุ - อัตราป่วยฉับพลัน (Attack rate) และอัตราป่วยจำเพาะ (Specific attack rate) คำนวณเหมือนอัตราอุบัติการ แต่ใช้กับการระบาดแบบ Outbreak หรือใน ปชก. เฉพาะกลุ่ม (ถ้าปชก.ทุกคนเสี่ยงเท่ากัน ในช่วงเวลา 1 ปี ตัวหาร = ปชก.กลางปี)

ทำไมต้อง …Attack rate ในงานสอบสวนทางระบาดวิทยา - อัตราป่วยเฉียบพลัน คือ อะไร คำนวณเหมือนอัตราอุบัติการ แต่ใช้กับการระบาดแบบ Outbreak หรือ ใน ปชก. เฉพาะกลุ่ม (cluster) (ถ้าปชก.ทุกคนเสี่ยงเท่ากัน ในช่วงเวลา 1 ปี ตัวหาร = ปชก.กลางปี) A x 100 A+B Incidence rate

การวัด อุบัติการของการเกิดโรค มี 2 แนวทางในการวัด 1) อุบัติการสะสม Cumulative incidence = จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ในช่วงเวลาที่กำหนด ประชากรที่เสี่ยงในช่วงเวลานั้น = 40 = 1.25 /1,000 32,000 X 10(n)

Measuring the incidence การวัด อุบัติการของการเกิดโรค 2) อัตราอุบัติการ (Incidence density or Incidence rate ) การเพิ่ม “มิติของเวลา” ลงไปในตัวหาร “Person-time” Person-month, Person-year

ความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่ กับอุบัติการการเกิดอัมพาต ของประชากร 118,539 คนในเวลา 8 ปี Smoking No. of stroke Person-years Incidence rate of observation /100,000 person-years Never 70 395,594 17.7 Ex-smoker 65 232,712 27.9 Smoker 139 280,141 49.6 Total 274 908,477 30.2

ความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่กับอุบัติการการเกิดอัมพาต ของประชากร 118,539 คนในเวลา 8 ปี Smoking No. of stroke Person-years Incidence rate of observation /100,000 person-years Never 70 395,594 17.7 Ex-smoker 65 232,712 27.9 Smoker 139 280,141 49.6 Total 274 908,477 30.2 Cumulative incidence = 274/118,539 = 2.31 /1,000

สรุป...ความหมาย ความชุก Prevalence: ความน่าจะเป็นที่บุคคลจะเป็นผู้ป่วยในช่วงเวลาที่สนใจ อุบัติการ Incidence: ความน่าจะเป็นหรือความเสี่ยงที่บุคคลที่แข็งแรงดีจะเกิดการป่วยขึ้นมาในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง

การนำดัชนีวัดการป่วยไปใช้ประโยชน์ 1. อัตราอุบัติการ (Incidence rate) > นิยมใช้กับการป่วยแบบเฉียบพลัน (Acute disease) > แสดงความเสี่ยงหรือโอกาสในการเป็นโรค > เป็นเครื่องบ่งชี้ประสิทธิผลของมาตรการควบคุมโรค > เป็นดัชนีประเมินผลการป้องกันควบคุมโรค 2. อัตราความชุก (Prevalence rate) > นิยมใช้กับการป่วยแบบเรื้อรัง (Chronic disease) > ใช้บอกปัญหาหรือความชุกชุมของโรคในชุมชน > เป็นแนวทางจัดบริการรักษาพยาบาล/สังคมสงเคราะห์ > เป็นดัชนีประเมินผลการให้บริการ

การใช้ดัชนีวัดการตายที่สำคัญ 1. อัตราตายอย่างหยาบ (Rate/100,000) > ใช้บอกสภาวะอนามัยของชุมชนในภาพรวม > มีค่าสูงในกลุ่ม ปชก. ที่มีสภาวะเศรษฐกิจและสังคมต่ำ > เป็นอัตราที่แท้จริงของการตายที่เกิดขึ้นในชุมชน 2. อัตราตายจำเพาะสาเหตุ > บอกลักษณะเฉพาะโรค หรือความเสี่ยงต่อการตายจากโรคนั้น 3. อัตราผู้ป่วยตาย …… (%) > ใช้บ่งชี้ความรุนแรงของโรคหรือปัญหา > ใช้บ่งชี้ถึงคุณภาพทางการแพทย์และการรักษาพยาบาล 4. อัตรามารดาตายและอัตราทารกตาย > ใช้บ่งชี้ถึงคุณภาพทางการแพทย์และการสาธารณสุข

ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ อธิบายทั้งกลุ่มผู้ป่วย Non Cases Factor A อธิบายทั้งกลุ่มผู้ป่วย และไม่ป่วย Cases Factor A ศึกษาหาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรค

Cross-sectional study -สุ่มตัวอย่างจากคนในชุมชน 359 คน - สอบถามพฤติกรรมการกิน แต่ละคน - จำแนกเป็น 4 กลุ่ม ลงในตาราง 2x2 D+ D- E+ A=42 B=203 C=7 D=107 E- Total a+c b+d n=a+b+c+d เป็นการกำหนดจำนวนรวมทั้งหมด(Total) ล่วงหน้า นำเสนอร้อยละ ที่ % ของ Total ก่อนเสมอ (หา Prevalence rate) 4/22/2019

Case-control study Odds ratio = ประชากร ป่วย ไม่ป่วย Oddct= Oddcs = Exposed Oddct= Oddcs = Exposed Non-exp. Non-exp. Odds ratio = Oddcs Oddct

กำหนดจำนวนรวมทั้งหมด(Total Column) ล่วงหน้า Case-control -เริ่มด้วย หา Pt.ในชุมชน 49 คน -สุ่มตัวอย่าง ผู้ที่ไม่ป่วย 310 คน -สอบถามประวัติ การกินอาหาร แต่ละคน -จำแนกเป็น 4 กลุ่ม ลงในตาราง 2x2 D+ D- A=42 B=203 C=7 D=107 E+ E- Total 49 310 n=a+b+c+d กำหนดจำนวนรวมทั้งหมด(Total Column) ล่วงหน้า นำเสนอร้อยละ ที่ % ของคอลัมภ์ Total (หา Prevalence rate)

Cohort study = = Relative risk = Risk Risk Not Eat Ate Non-case Case กลุ่มประชากร ที่ศึกษา Not Eat Ate Non-case Risk Ate = Case = Risk Not Eat Non-case Case

Cohort -เริ่มด้วย ติดตามคนปกติ ที่กินอาหาร 245 คน -และ คนปกติ ที่ไม่กินอาหาร 114 คน - ติดตามเป็นเวลา 5 วัน -จำแนกเป็น 4 กลุ่ม ลงในตาราง 2x2 D+ D- 245 A=42 B=203 C=7 D=107 E+ 114 E- Total 49 310 n=a+b+c+d กำหนดจำนวนรวมทั้งหมด(Total Row) ล่วงหน้า นำเสนอร้อยละ ที่ % ของ Row (หา Incidence rate)

ตั้งชื่อถูกใจ ……………ให้หนังสือสถิติ ฟรี สวัสดี