การปฐมนิเทศและการบรรจุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
ความหมายของโครงการ โครงการ (PROJECT) โครงการ (PROJECT) กระบวนการ ทำงานที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรม ซึ่งมีการทำโครงการเป็นไปตามลำดับ โดยการ ทำงานจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
โดย ดร. สิทธิชัย มูลเขียน ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
ชุมชนปลอดภัย.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
โรงเรียนกับชุมชน.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
1.
การพัฒนาระบบการประเมิน และการประกันคุณภาพการศึกษา
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
การบริหารจัดการองค์การ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
โดย หัวหน้างานบริหารทั่วไป
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ความหมาย และ คำจำกัดความของคำว่า “ รัฐประศาสนศาสตร์ “
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปฐมนิเทศและการบรรจุ Dr.Chot Bodeerat, D.P.A. Public Administration Faculty of Humanities and Social Sciences Pibulsongkram Rajabhat University

การปฐมนิเทศ (Orientation and Placement) การปฐมนิเทศเป็นภาระหน้าที่ ที่ผู้บริหารทุกคนในองค์การจะต้องมีส่วนร่วมและให้ความสำคัญที่จะปฏิบัติหน้าที่ ต่างๆ ให้บุคลากรใหม่ทุกคนเกิดความประทับใจ ขวัญกำลังใจ มีทัศนคติที่ดีต่อองค์การ ตั้งแต่เริ่มต้นปฏิบัติงาน อันจะส่งผลให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์

ความหมายของการปฐมนิเทศ การปฐมนิเทศเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ที่จำเป็นต้องจัดกระทำก่อนเริ่มต้นปฏิบัติงาน กล่าวโดยสรุป การปฐมนิเทศเป็นงาน การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ที่มุ่งหวังให้บุคลากรที่เข้ามาปฏิบัติงานใหม่รู้จักการปรับตัวเข้ากับองค์การ และให้ทราบถึงเป้าหมาย นโยบาย เงื่อนไขการจ้างงาน และการต้อนรับที่อบอุ่น

วัตถุประสงค์ของการปฐมนิเทศ เพื่อช่วยให้บุคลากรใหม่รู้จักปรับตัว เพื่อช่วยให้บุคลากรใหม่เข้าใจเป้าหมายนโยบาย เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีแก่บุคลากรใหม่ เพื่อช่วยให้บุคลากรใหม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ เพื่อช่วยลดความผิดพลาด เพื่อกระตุ้นให้บุคลากรใหม่ตื่นตัวต่อภาระหน้าที่งาน เพื่อช่วยปลูกฝังทัศนคติแก่บุคลากรใหม่ ให้มีความรู้สึกที่ดีต่องานและเพื่อนร่วมงานในองค์การ

ลักษณะการปฐมนิเทศ 1. การปฐมนิเทศแบบเป็นทางการ (Formal Orientation) เป็นการจัดปฐมนิเทศที่มีการกำหนดแบบแผนขั้นตอนการดำเนินงานไว้อย่างชัดเจนจะใช้สำหรับการปฐมนิเทศที่มีบุคลากรจำนวนมากในครั้งหนึ่งๆ 2. การปฐมนิเทศแบบไม่เป็นทางการ (Informal Orientation) เป็นการจัดปฐมนิเทศไม่มีระเบียบแบบแผนหรือข้อปฏิบัติที่ชัดเจนตายตัว มีลักษณะไม่เป็นพิธีการ ส่วนใหญ่จะปรากฏในรูปของการให้คำแนะนำ ปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือกลุ่มย่อย

รูปแบบการปฐมนิเทศ 1. รูปแบบของการบอกให้ทราบ (Telling System) การปฐมนิเทศรูปแบบนี้จะกำหนดให้ผู้ที่ได้รับมอบหมายดูแลเรื่องนี้โดยตรง อาจจะเป็นหัวหน้าหน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ หรือวิทยากรประจำองค์การที่มีประสบการณ์ในด้านี้โดยตรงบอกรายละเอียดข้อมูลต่างๆ ที่บุคลากรใหม่ควรทราบ

2. รูปแบบของการแสดงให้เห็น (Showing System) เป็นรูปแบบที่ใช้ โดยวิทยากรจะทำหน้าที่สาธิตหรือแสดงให้ผู้เข้ารับการปฐมนิเทศเห็นสภาพความเป็นจริงขององค์การ โดยเฉพาะหน้าที่งานที่จะต้องปฏิบัติ สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปที่เกี่ยวข้อง การแสดงให้เห็นภาพจริงนั้น จำเป็นต้องใช้สื่อเป็นเครื่องมือหรืออุปกรณ์ประกอบ เช่น การฉายภาพยนต์ และ วีดีทัศน์ 3. รูปแบบการลงมือปฏิบัติจริง (Doing System) เป็นวิธีการที่ผู้รับผิดชอบหรือวิทยากรจะเปิดโอกาสให้บุคลากรใหม่เข้ามามีส่วนร่วม โดยลงมือปฏิบัติงานนั้น ๆ ด้วยตนเอง ความมุ่งหวังของการจัดปฐมนิเทศในรูปแบบนี้ เพื่อกระตุ้นให้บุคลากรที่ปฏิบัติงานใหม่ตื่นตัวต่อการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติอย่างแท้จริง

ขั้นตอนการปฐมนิเทศ 1. เริ่มต้นวางแผนงาน 2. การพิจารณาและกำหนดวิธีเสนอข้อมูล 3. ดำเนินการปฐมนิเทศ 4. การประเมินผลการดำเนินงาน 5. การปรับปรุงแก้ไข

หัวข้อการปฐมนิเทศ เรื่องทั่วไปขององค์การ สภาพการปฏิบัติงาน สิทธิ สวัสดิการและผลประโยชน์ตอบแทน หน้าที่ความรับผิดชอบ และสภาพแวดล้อม แรงงานสัมพันธ์ และสหภาพแรงงาน

การทดลองงาน การทดลองงาน (Probation) เมื่อบุคลากรใหม่ได้รับการปฐมนิเทศเรียบร้อยแล้ว ก็จะเข้าสู่การเริ่มต้นงาน ซึ่งในช่วงของการปฏิบัติงานระยะแรกนั้น เราเรียกว่า การทดลองงาน ช่วงระยะเวลาของการทดลองงาน ควรจะมอบหมายให้บุคลากรเก่าทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงคอยแนะงาน โดยกำหนดเป็นแผนการปฏิบัติงานให้ชัดเจน ไม่ควรให้บุคลากรใหม่มาขอความช่วยเหลือ

การบรรจุ การบรรจุ หมายถึง การออกคำสั่งอย่างเป็นทางการว่าจะรับบุคลากรคนใดเป็นผู้ปฏิบัติงานใหม่ขององค์การ ซึ่งจะต้องดำเนินการควบคู่กับการแต่งตั้งให้ดำรงค์ตำแหน่งใด ตำแหน่งหนึ่งด้วย ดังนั้น การบรรจุจึงเป็นเรื่องของการมอบหมายภารกิจเกี่ยวกับหน้าที่การงานให้แก่บุคลากรใหม่