LIBRARY Chiang Mai University ระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางบรรณานุกรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสืบค้นฐานข้อมูล EDRS E*Subscribe โด ย ปริญญา ขาวผ่อง คณะครุ ศาสตร์ โครงการอบรมฐานข้อมูลเพื่อการ ค้นคว้าวิจัย สถาบันวิทยบริการ.
Advertisements

แหล่งสารสนเทศวารสารแบบเสรี (Open Access)
การจัดการความรู้สำหรับองค์กร
งานวิจัยและตำแหน่งวิชาการ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สารสนเทศเพื่อการวิจัย (Information for Research)
ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน
บริการข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Library) ห้องสมุดคณะวิจิตรศิลป์ 2552
โดย : จิรวัฒน์ พรหม พร Book Promotion & Service Co,. Ltd. Tel :
โดย : จิรวัฒน์ พรหม พร Book Promotion & Service Co,. Ltd. Tel :
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานวิจัย ในคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Originality Check Report
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุพรรณี สมบุญธรรม
สำแดงทิศทางห้องสมุด มหาวิทยาลัยไทย : ความท้าทาย รศ. ดร. สมพร พุทธาพิทักษ์ผล สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในการประชุมวิชาการเรื่อง “ ก้าวสู่ปีที่
ฐานข้อมูลออนไลน์ทาง การแพทย์ Medical Online Databases KM For ชุมชนคนใกล้หมอ ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ May 10, 2007.
กำหนดการเปิดใช้ ระบบทะเบียนและประมวลผล การศึกษา และระบบประเมินการศึกษา สถาบัน พระบรมราชชนก.
หมายเหตุ: ถ้าต้องการเปลี่ยน รูปภาพบนสไลด์นี้ ให้เลือกรูปภาพ และลบรูปภาพนั้น จากนั้นคลิกที่ ไอคอนรูปภาพ ในตัวแทนรูป เพื่อ แทรกรูปภาพของ คุณ ศูนย์วิทยบริการ.
การค้นคืนสารสนเทศ สัมมนาเข้ม ชุดวิชาการจัดเก็บและการค้น คืนสารสนเทศ สมพร พุทธาพิทักษ์ผล 16 กรกฎาคม 2548.
Faculty of Information Science and Technology, MUT 13/8/59 IS/Thesis OverviewIS/Thesis Overview.
Open Source Software เพื่อการศึกษา บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
การกำกับดูแล ตนเองที่ดี สรวิชญ์ เปรมชื่น ที่ปรึกษา สมาคมส่งเสริม ผู้ประกอบการวิสาหกิจ.
Report การแข่งขัน.
การฝึกอบรมคืออะไร.
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
Prof.Emeritus Dr.ANURAK PANYANUWAT CAMT, CHIANG MAI UNIVERSITY
ประสบการณ์และเทคนิคทำวิจัยสถาบัน
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร/สาขาวิชา ประจำปีการศึกษา 2558.
การบรรยายพิเศษ สหกิจศึกษานานาชาติ International Cooperative Education โดย ดร.สุเมธ แย้มนุ่น อุปนายกสมาคมสหกิจศึกษาไทย โครงการเตรียมความพร้อมสู่สหกิจศึกษานานาชาติ
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
Chapter 9 Peaceful Settlement of Dispute
การสืบค้นข้อมูลในการวิจัยจากเว็บไซต์หอสมุด
การเบิกจ่ายค่าจ้างเหมาบริการ
“แนวทางการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ”
Chapter 6 Diplomatic and Consular Privileges and Immunities
องค์กรทางการเงินระหว่างประเทศ
AUN-ACTS & AIMS Outbound Student Exchange’s Orientation for 1/2017 ผศ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความพร้อมเพื่อการจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลของผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง Factors Related to Readiness for Hospital Discharge.
การพัฒนาการส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ
ทำอย่างไรถึงจะมีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ มากกว่า 200 เรื่อง
รายวิชา Scientific Learning Skills
อรกัญญา เมธา สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การพัฒนาองค์ความรู้สถาบัน ในระบบคลังข้อมูลแบบกลุ่มเมฆ
รายงานความก้าวหน้า การประชุมครั้งที่ 7/2555
เครื่องใช้ไฟฟ้า.
กลุ่มพัฒนาเครือข่ายและสถานศึกษาต้นแบบ
6 ทศวรรษ สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ*
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมทางสังคม
ผลงานวิชาการรับใช้สังคม และการขอตำแหน่งทางวิชาการ
การเตรียมความพร้อม สหกิจศึกษา
ระบบค้นหาตำแหน่งตัวเล่มวารสาร ในสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
ปฏิบัติงานการแสดง อ.ดร.กุสุมา เทพรักษ์.
การบริการพื้นฐานของห้องสมุด
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
การพัฒนาและการจัดการคลังปัญญาดิจิทัล มหาวิทยาลัยศิลปากร
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
กลุ่มควบคุมโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ
รายวิชา Scientific Learning Skills
โครงสร้างข้อมูล( Data Structure)
Why’s KM ?.
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ในการเขียน แบบ ก.พ.อ 03 ปรับปรุง / 2
การศึกษาความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
“Online Article Service & Tracking System”
การสืบค้นงานวิจัยออนไลน์
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
ข้อสรุปจากที่ประชุมคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน มหาวิทยาลัยมหิดล
Introduction to Structured System Analysis and Design
การรวบรวมข้อมูลข่าวสารการตลาด (The Marketing Information Gathering)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

LIBRARY Chiang Mai University ระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางบรรณานุกรม ของผลงานวิชาการจากฐานข้อมูลสากล (International Databases) สู่ฐานข้อมูลซึ่งใช้โปรแกรม DSPACE ได้แบบอัตโนมัติ นายปราชญ์ สงวนศักดิ์ นางสาวดวงฤทัย ณ ทุ่งฝาย นางสาวภิญญาพัชญ์ ญานะคำ

คลังปัญญามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU Intellectual Repository : CMUIR) เริ่มจัดทำเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2557 มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างฐานข้อมูลรวบรวมผลงานวิชาการของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นการทำงานร่วมกันระหว่าง 4 หน่วยงาน ได้แก่ ศูนย์บริหารการวิจัย สำนักหอสมุด บัณฑิตวิทยาลัย และสำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ

Journal Articles Conference Papers Research Theses / IS e-Journals Patents Book chapter Working Papers Official report or Project

หน้าที่ของห้องสมุดในการจัดการข้อมูลใน CMU IR กำหนด Metadata ให้ครอบคลุมผลงานวิชาการทุกประเภท การดำเนินการนำเข้าวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าแบบอิสระ (Thesis/IS) โดยการตรวจสอบแก้ไขข้อมูลและเผยแพร่ การนำผลงานที่ตีพิมพ์ในระดับสากลเข้าฐานข้อมูล CMU IR

ตัวอย่างสถาบันการศึกษาที่ใช้ DSPACE จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คลังปัญญาจุฬาฯ เพื่อประเทศไทย (The Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR)) มหาวิทยาลัยมหิดล ฐานข้อมูลคลังสารสนเทศสถาบันของมหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University Institutional Repository Database –Mahidol - IR) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คลังปัญญามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (PSU Knowledge Bank)

ฐานข้อมูลที่สำนักหอสมุดมีอยู่ CMU e-Theses CMU e-Research CMU Scholarly Research Report

การขอเข้าดูงานเชิงลึก วันที่ 3-4 ตุลาคม 2560 บรรณารักษ์และนักวิชาการ คอมพิวเตอร์ จากหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอ เข้าร่วมดูงานเชิงลึกเกี่ยวกับ การเชื่อมโยงข้อมูลข้อมูล ผลงานวิชาการจากฐานข้อมูล สากล

การขอเข้าดูงานเชิงลึก วันที่ 29-31 มกราคม 2561 บุคลากรจากหอสมุดและคลัง ความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล ขอ เข้าร่วมดูงานเชิงลึกเกี่ยวกับ การเชื่อมโยงข้อมูลข้อมูล ผลงานวิชาการจากฐานข้อมูล สากลกับโปรแกรม DSPACE

OBJECTIVE เพื่อพัฒนาระบบเชื่อมโยงฐานข้อมูล สากล ให้สามารถนำเข้าข้อมูลทาง บรรณานุกรมของผลงานวิชาการสู่คลัง ปัญญา (Intellectual Repository) ซึ่ง พัฒนาโดยใช้โปรแกรม DSPACE ได้ แบบอัตโนมัติ เพื่อพัฒนาระบบเชื่อมโยงที่สามารถ ตรวจสอบความถูกต้องและความซ้ำซ้อน ของข้อมูลที่มีอยู่ในโปรแกรม DSPACE เพื่อจัดทำ Cloud Platform ให้ หน่วยงานอื่นที่ใช้โปรแกรม DSPACE ในการพัฒนาฐานข้อมูล ให้สามารถ เชื่อมโยงข้อมูลจากฐานข้อมูลสากลกับ ฐานข้อมูลของหน่วยงานได้

DEVELOPMENT PROCESS

SYSTEM MODEL

เครื่องมือที่ใช้ Node JS + Express Angular DSPACE API

ระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางบรรณานุกรม http://apps2.lib.cmu.ac.th/repsync

ผลการทดสอบ จากการทดสอบระบบโดยการ เชื่อมโยงข้อมูลกับคลังปัญญา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่า ระบบระบบเชื่อมโยงข้อมูลทาง บรรณานุกรมจากฐานข้อมูลสากล สามารถใช้งานได้ดี มีความ แม่นยำในระดับ 100% รวบรวมระเบียนบรรณานุกรม ตั้งแต่ปี พ.ศ.2553 - 2562 (ค.ศ.2010 – 2019) ณ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2561 ลงคลัง ปัญญามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้จำนวน 11,003 ระเบียน ภายในระยะเวลา 1 ชั่วโมง

ปัญหาและอุปสรรค DSPACE สามารถกำหนดเขต ข้อมูลเพิ่มเติมนอกเหนือจาก มาตรฐานที่มีให้ได้ ดังนั้นใน เขตข้อมูลดังกล่าวจึงไม่ สามารถนำเข้าข้อมูลแบบ อัตโนมัติได้

แนวทางการแก้ไขปัญหา พัฒนาระบบให้ผู้ใช้งาน สามารถกำหนดเขตข้อมูลด้วย ตนเองโดยการผสมเขตข้อมูลที่ มีอยู่ในฐานข้อมูลได้

การวิพากษ์ระบบ วิพากษ์ระบบโดย ข้อเสนอแนะ ห้องสมุดชั้นนำในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 7 แห่ง ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ ของ สถาบันการศึกษา 2 แห่ง ได้รับความพึงพอใจในระดับมากที่สุด (4.30) ข้อเสนอแนะ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  ควรจัด อบรมการใช้งานระบบเชื่อมโยงข้อมูลทาง บรรณานุกรมจากฐานข้อมูลสากลให้กับ หน่วยงานภายนอก สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ควร เปิดระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางบรรณานุกรมจาก ฐานข้อมูลสากลให้หน่วยงานภายนอกเข้าถึงได้

Integrations วางแผนเชื่อมโยงข้อมูล Book Chapter ที่อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลเขียนไว้ใน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สู่ Mahidol IR

Q/A