หลักศิลปะเพื่องานออกแบบจัดสวน (Principle of Art for Landscape design)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ ระดับชั้น ม.4
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
ปริมาณสเกล่าร์ และปริมาณเวกเตอร์
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
กระบวนการของการอธิบาย
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
การออกแบบและเทคโนโลยี
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
บรรยายครั้งที่ 5 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
ลายผ้าของแม่ โดย มัณฑนา สันติคุณากร.
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
วิชาทฤษฎีสี รหัสวิชา FAD1104
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
หลักเกณฑ์และศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการตัดต่อภาพยนตร์
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
Integrated Information Technology
Visual Communication for Advertising Week2-4
Scene Design and Lighting Week1-3
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
แผนที่อากาศและแนวปะทะอากาศ
“พื้นที่ที่สำรองไว้สำหรับคำอ้างอิงที่จะให้เคลื่อนไหวที่นี่ ”
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แผ่นดินไหว.
การหักเหของแสง การหักเหของแสง คือ การที่แสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งที่มีความหนาแน่นต่างกันจะทำให้แสงมีความเร็วต่างกันส่งผลให้ทิศทางของแสงเปลี่ยนแปลงไป.
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
Storyboard คืออะไร.
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
บทที่ ๑ การพูดและการนำสนอเพื่องานนิเทศศาสตร์
ความดัน (Pressure).
เรื่องหลักการออกแบบกราฟิก
วงจรอาร์ ซี ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์
Storyboard คืออะไร.
ยิ้มก่อนเรียน.
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด Guy Metcalfe a,., Mark.
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การสเก็ตภาพสามมิติ(Three-Dimensional Pictorials )
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักศิลปะเพื่องานออกแบบจัดสวน (Principle of Art for Landscape design) วิชาไม้ดอกไม้ประดับและการจัดสวน (กญวก 312)

พื้นฐานศิลปะและการนำมาใช้ในการออกแบบจัดสวน องค์ประกอบศิลปะ (art elements) 1. เส้น (line) คือ จุดที่ต่อกันหลายๆจุด ทำให้เกิดรูปแบบ, ทิศทาง, ขนาด และความหมายต่างๆ ให้ความรู้สึกต่างกัน เส้นนอน สงบ เฉยเงียบ กว้าง พักผ่อน ต่ำ เส้นเฉียง เคลื่อนไหว ไม่มั่นคง เร็ว โน้มเอียง ลาดเท เส้นตั้ง มั่นคง แข็งแรง จริงจัง สง่า ทะเยอทะยาน รุ่งเรือง

เส้นซิกแซก เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ให้จังหวะกระแทก เคลื่อนไหวรุนแรง เส้นโค้งก้นหอย เคลื่อนไหว คลี่คลาย เติบโต ไม่สิ้นสุด มีพลังเคลื่อนไหว เส้นโค้ง เคลื่อนไหว อ่อนโยน นุ่มนวล ร่าเริง

2. รูปร่าง (shape) เกิดจากเส้นที่ลากมาบรรจบกัน เป็นภาพสองมิติ ไม่แสดงปริมาตร เรขาคณิต ธรรมชาติ รูปร่างบิดเบือนที่เกิดจากการออกแบบ

3. รูปทรง (form) มีสามมิติ คือ กว้างx ยาวx สูง กินเนื้อที่ มีปริมาตร

4. สี (color) เกิดจากแสง สีกลาง ได้แก่ สีดำ ขาว เทา สีตรงข้ามในวงจรสีที่ตัดกันอย่างแท้จริง เช่น เหลือง--ม่วง, ส้ม-น้ำเงิน สีแดง หงุดหงิด รุนแรง แข็งกร้าว ตื่นเต้น สีเหลือง เบิกบาน สดใส เร้าใจ มีชีวิตชีวา สีเขียว ร่มเย็น สงบ พักผ่อน สีน้ำเงิน สงบ มั่นคง เหยือกเย็น อ้างว้าง สีม่วง สงบ ภาคภูมิ สีขาว สว่าง เบา สีเทา สงบ สันโดษ นอบน้อม สีดำ สุขุม ลึกซึ้ง ลึกลับ

5. ผิวสัมผัส (texture) เป็นผลมาจากวัสดุที่ใช้ รับรู้ได้จากการมองและการสัมผัส เช่น หยาบ ละเอียด เป็นมัน ขรุขระ

6. ที่ว่าง (space) ที่ว่างหนึ่งๆ จะไม่มีความหมาย หากไม่มีการกำหนดรูปร่างหรือรูปทรงขึ้นในที่ว่างนั้น

การนำองค์ประกอบต่างๆ มาใช้ตามหลักศิลปะ สัดส่วน (proportion) เป็นกฎของความสัมพันธ์ของที่ว่าง

จังหวะ (rhythm) เป็นการเคลื่อนที่ต่อเนื่องกันขององค์ประกอบศิลปะ

ความกลมกลืน (harmony) เกิดจากการใช้องค์ประกอบศิลปะประเภทเดียวกัน ในการจัด เช่น รูปร่าง รูปทรง สี พื้นผิว

การเน้น (emphasis) ทำให้เกิดจุดเด่นขึ้นในงาน ซึ่งอาศัยหลักความแตกต่าง กับองค์ประกอบรอบๆ

ความสมดุลย์ (balance) จะมีแนวแกนเป็นหลัก Formal (symmetrical) balance Informal (asymmetrical) balance

การเขียนแบบและการอ่านแบบ รูปภาพประกอบการเขียนแบบงานภูมิทัศนสามารถแบ่งได้เป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ ผังพื้น (plan) รูปตัด (section) รูปด้าน (elevation) ทัศนียภาพ (perspective)

1. ผังพื้น หมายถึง ภาพสองมิติที่มองจากด้านบนฉากลงมา หลักการเขียนผังพื้น 1.1 แสดงทิศเหนือ พยายามให้ทิศเหนือชี้ขึ้นด้านบนของกระดาษ

1.2 มาตราส่วน ใส่ทั้งเลขและระยะที่เป็นเส้นมาตราส่วน (Graphic scale)

1.3 การเขียนอาคาร ให้ใช้เส้นหนาที่สุดแทนขอบผนัง

1.4 การเขียนต้นไม้ใหญ่ ควรเป็นเฉพาะเส้นรอบขอบทรงพุ่มด้านนอก ¾ ของขนาดโตเต็มที่และใส่ตำแหน่งศูนย์กลาง

1.5 การเขียนไม้พุ่ม สามารถใส่รายละเอียดภายในของพุ่มได้บ้าง ขนาดเส้นเล็กกว่าไม้ใหญ่ ขนาด3/4ของขนาดโตเต็มที่และใส่ตำแหน่งศูนย์กลาง

1.6. ไม้คลุมดิน แสดงรูปร่างขอบแปลง ขนาดขอบแปลงเล็กที่สุด

1.7 ใส่ระดับขององค์ประกอบถาวร (hardscape) ในสวน เช่น ทางเท้า พื้นนั่งเล่น บ่อน้ำ

2. รูปตัด (section)= ภาพสองมิติ ที่แสดงความสัมพันธ์ในระนาบตั้ง ซึ่งเป็นผลมาจากผังพื้น รูปตัดจะแสดงการเปลี่ยนระดับทั้งบนดินและใต้ดิน เส้นระดับดินต้องแสดงเสมอเพื่อเป็นระดับมาตรฐาน เปรียบเทียบความสูงต่ำของสิ่งที่แสดง

3. รูปด้าน (elevation)= ภาพสองมิติ ที่แสดงความสัมพันธ์ในระนาบตั้ง ของบริเวณจากมุมมองภายนอกตามที่ตามองเห็น ซึ่งจะอยู่เหนือระดับดินเท่านั้น เส้นระดับดินจะต้องแสดงเสมอ เพื่อใช้เป็นระดับมาตรฐานเปรียบเทียบกับระดับอื่น

4. ทัศนียภาพ (perspective)= ภาพสามมิติ ที่แสดงความกว้าง ยาว ลึก ของบริเวณทั้งหมดหรือส่วนใดส่วนหนึ่ง เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น การเขียนจะไม่ใช้มาตราส่วน แต่จะใช้สัดส่วนแสดงแทน