บทที่ 2 ทฤษฎีการตัดสินใจ (Decision Theory)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Decision Making.
Advertisements

Information systems; Organizations; Management; Strategy
Game Theory.
INC 551 Artificial Intelligence
ทักษะ และการตัดสินใจการบริหารการผลิต
ทักษะ และการตัดสินใจการบริหารการผลิต
การบริหารการผลิต 14 มิถุนายน 2556.
ทักษะ และการตัดสินใจการบริหารการผลิต
adversarial Search Techniques
WATTANAPONG SUTTAPAK SOFTWARE ENGINEERING, SCHOOL OF INFORMATION COMMUNICATION TECHNOLOGY, UNIVERSITY OF PHAYAO Chapter 9 Heap and Hash 1.
เนื้อหารายวิชา Power System Analysis ปีการศึกษา 1/2549
LIT MBA รุ่นที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา มกราคม 2559.
อาจารย์ วิทูร ธรรมธัชอารี. เนื้อหาในการเรียน  เครื่องมือในการออกแบบและพัฒนาระบบ บัญชีด้วยคอมพิวเตอร์  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล  การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์
LIT MBA รุ่นที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ธันวาคม 2558.
การวิเคราะห์ความแปรปรวนของค่าอัตราส่วนปลอดภัย
ภาพรวมของการบัญชี (OVERVIEW OF ACCOUNTING)
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
Risk Based Capital by Thanachart Life Assurance
บทที่ 2 การวิเคราะห์การตัดสินใจ : แผนภูมิเพื่อการตัดสินใจ
ส่วนประกอบของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ : 2. ระบบย่อยในการจัดการตัวแบบ
การออกแบบปัญหาการวิจัย
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
บทที่ 3 ตัวแปรและสมมติฐาน.
แนวคิดการวิจัย เชิงคุณภาพ รศ
บทที่ 3 การตัดสินใจ ประเทศไทย - เศรษฐกิจ - การเมือง Google
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
13 October 2007
การแบ่งส่วนตลาด การตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ Market Segmentation, Market Targeting, and Product Positioning การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
การใช้ทฤษฎีในงานวิจัย
บทที่ 3 ระบบสารสนเทศกับการบริหารองค์กร
การทดสอบสมมติฐาน.
Chapter 6 Information System Development
กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค (Consumer’s Decision Making)
Object-Oriented Programs Design and Construction
การตัดสินใจทางธุรกิจ
บทที่ 3 การจัดการความเสี่ยง
ขั้นตอนการทำโครงงานวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
ในการพัฒนาการจัดการเชิงกลยุทธ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Introduction to Decision Support Systems
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
การแบ่งส่วนตลาดและการตลาดเป้าหมาย (Market Segmentation and Targeting)
Decision Model.
บทที่ 6 การแบ่งส่วนตลาด การตลาด เป้าหมาย และการวางตำแหน่ง ผลิตภัณฑ์
Risk Management in New HA Standards
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
บทที่ 9 การอธิบายกระบวนการแบบต้นไม้.
บทที่ 4. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
การแบ่งส่วนตลาด การตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ Market Segmentation, Market Targeting, and Product Positioning การแบ่งส่วนตลาด (Market Segmentation)
Two-phase Method (เทคนิค 2 ระยะ)
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค (Model of Consumer Behavior)
บทที่ 5 ตัวแบบพฤติกรรมผู้บริโภค
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
สรุปความก้าวหน้า การดำเนินงาน PA พัฒนาคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
บทที่ 8. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน/สำนักงาน ป.ป.ท.
งานวิจัย.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
การรวบรวมข้อมูลข่าวสารการตลาด (The Marketing Information Gathering)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 ทฤษฎีการตัดสินใจ (Decision Theory)

ประเด็นบทที่ 2 ความหมายของการตัดสินใจ สภาวะของการตัดสินใจ ประเด็นบทที่ 2 ความหมายของการตัดสินใจ สภาวะของการตัดสินใจ ประเภทของการตัดสินใจ ขั้นตอนการตัดสินใจ วิธี เทคนิคการตัดสินใจ

ความหมายของการตัดสินใจ การตัดสินใจ(decision) หมายถึง การเลือกกระทำอย่างหนึ่งอย่างใดจากทางเลือกที่มีอยู่ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์อย่างที่ตนเองมุ่งหวังให้เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ ตรงไป ทางซ้าย ทางขวา

การตัดสินใจที่ดี จะอยู่ บนพื้นฐานของตรรกศาสตร์ข้อมูล และข่าวสารของความเป็นจริง การใช้คณิตศาสตร์เชิงปริมาณที่เหมาะสม และทางเลือกที่มีความเป็นไปได้ ในทางตรงกันข้ามในการตัดสินใจนั้น ถ้าไม่เป็นไปตามหลักของตรรกศาสตร์ ไม่มีข้อมูล และข่าวสาร ใช้คณิตศาสตร์เชิงปริมาณไม่เหมาะสม และทางเลือกที่ไม่มีความเป็นไปได้ เป็น การตัดสินใจที่ไม่ดี

1 ส่วนประกอบในการตัดสินใจ (Components of decision making) 1 1 ส่วนประกอบในการตัดสินใจ (Components of decision making) 1.1 ผู้ตัดสินใจ (Decision maker) คือ บุคคลที่ต้องรับผิดชอบต่อการตัดสินใจ เช่น คณะกรรมการของบริษัท ผู้จัดการ ผู้อำนวยการ คณะรัฐมนตรี 1.2 ทางเลือกกระทำ (Alternative actions) ทางเลือกที่ผู้ตัดสินใจ ต้องเลือกมีตั้งแต่ 2 ทางเลือกขึ้นไป ผู้ตัดสินใจจะต้องเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง โดยพิจารณาจากผลตอบแทนที่ดีที่สุดหรือต้นทุนต่ำสุด

1.3 เหตุการณ์ (State of nature or event) สภาพหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง ๆ หลังจากตัดสินใจแล้ว โดยผู้ตัดสินใจไม่สามารถควบคุมหรือกำหนดเหตุการณ์เหล่านี้ได้ ซึ่งถือเป็นปัจจัยภายนอกองค์กร และไม่ทราบว่าเหตุการณ์จะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน เช่น การตัดสินใจผลิตสินค้าออกจำหน่ายจะมีเหตุการณ์เกิดขึ้น หลังจากสินค้าออกสู่ตลาดแล้วมี 2 เหตุการณ์ คือขายได้ตามเป้าหมายที่วางไว้หรือขายไม่ได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ซึ่งผู้ตัดสินใจจะไม่ทราบว่าเหตุการณ์ใดจะเกิดขึ้น 1.4 ผลตอบแทน (Pay off) อาจจะอยู่ในรูปของกำไร, ยอดขาย หรือต้นทุน

สภาวะของการตัดสินใจ ประเด็นที่ต้องตัดสินใจ 2) ผู้ตัดสินใจ การตัดสินใจเฉพาะตัว(individual decision) การตัดสินใจทางธุรกิจ(business decision) การตัดสินใจทางสังคม(social decision) 2) ผู้ตัดสินใจ การตัดสินใจโดยบุคคลใดบุคคลหนึ่ง(individual decision making) การตัดสินใจมักจะเป็นหมู่คณะ(group decision making) 3) สภาวะที่ต้องเผชิญในการตัดสินใจ ปัจจัยภายในที่เกี่ยวข้อง(internal factor) และปัจจัยภายนอก(external factor)

ภายใต้การตัดสินใจต้องเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่สำคัญ 2 ประการได้แก่ ภายใต้การตัดสินใจต้องเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่สำคัญ 2 ประการได้แก่ สภาพแวดล้อมภายใต้การควบคุม คือ องค์ประกอบที่เกิดขึ้นจากภายในที่สามารถกำหนดให้คงที่หรือเพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ตามที่ต้องการ โดยอาจมีผลหรือไม่มีผลต่อการตัดสินใจก็ได้ สภาพแวดล้อมนอกการควบคุม(state of nature) คือ ผลรวม(combination) ขององค์ประกอบที่เกิดขึ้นจากภายนอก ซึ่งเป็นสิ่งที่นอกเหนือการควบคุมจากภายใน และส่งผลให้การตัดสินใจ

ความแน่นอน (certainty) หมายถึง ทางเลือกที่ผู้ตัดสินใจรู้ได้อย่างแน่นอนถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นจากแต่ละทางเลือก การเสี่ยง (risk) หมายถึง ทางเลือกที่ผู้ตัดสินใจไม่รู้ถึงผลลัพธ์อย่างแน่นอน แต่ผู้ตัดสินใจพอจะสามารถรู้ได้บ้างว่าผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นนั้นจะเป็นอย่างไร โดยอาศัยการคาดคะเน ความไม่แน่นอน (uncertainty) หมายถึง ทางเลือกที่ผู้ตัดสินใจไม่รู้ถึงผลลัพธ์ หรือแม้แต่จะคาดคะเนก็ไม่สามารถทราบได้ว่าจะเกิดผลลัพธ์อย่างไร

การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง การตัดสินใจที่ไม่ทราบผลลัพธ์ที่แน่ชัดว่าจะเกิดเหตุการณ์ใดขึ้น ทราบถึงโอกาสหรือความน่าจะเป็น(Probability)ที่จะเกิดเหตุการณ์ จน.เหตุการณ์ที่สนใจ/คาดหวัง จน.เหตุการณ์ทั้งหมด ความน่าจะเป็น (Probability) =

ตัวแบบการตัดสินใจ เมทริกซ์การตัดสินใจ (Decision matrix) การแสดงข้อมูลการตัดสินใจในรูปตาราง แขนงการตัดสินใจ (Decision tree) การแสดงข้อมูลในรูปแผนภาพ

แขนงการตัดสินใจ หลักการสร้างแขนงการตัดสินใจ สร้างแขนงการตัดสินใจจากซ้ายไปขวา ทางเลือกของจุดตัดสินใจต้องมีมากกว่า 1 ทางเลือก ที่ปลายทางของแขนงการตัดสินใจทางเลือกทุกทางเลือกจะต้องมีเหตุการณ์เกิดขึ้นเสมออย่างน้อย 1 เหตุการณ์ แขนงการตัดสินใจสุดท้ายของแต่ละทางเลือกจะสิ้นสุดด้านขวามือ

สัญลักษณ์มาตรฐานที่ใช้ในการสร้างแขนงการตัดสินใจ 1) สี่เหลี่ยม ใช้แทนจุดของการตัดสินใจ เรียกสัญลักษณ์นี้ว่า decision node 2) วงกลม ใช้แทนจุดของการเกิดสภาวการณ์นอกเหนือการบังคับ เรียกสัญลักษณ์นี้ว่า state of nature node 3) เส้นตรง ใช้แทนทางเลือกต่างๆ และใช้แทนเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เป็นไปได้ เรียกสัญลักษณ์นี้ว่า branches หรือแขนง

C11 จุดตัดสินใจ C12 C13 C21 C22 C23 เหตุการณ์ 1 เหตุการณ์ 2 ทางเลือกที่ 1 เหตุการณ์ 3 C13 C21 เหตุการณ์ 1 ทางเลือกที่ 2 เหตุการณ์ 2 C22 เหตุการณ์ 3 C23

หลักเกณฑ์ในการสร้างแขนงการตัดสินใจ 1. สร้างแขนงการตัดสินใจจากซ้ายไปขวา 2. ทางเลือกของจุดตัดสินใจต้องมีมากกว่า 1ทางเลือก 3. ที่ปลายทางเลือกทุกทางต้องมีเหตุการณ์เกิดขึ้นเสมออย่าง น้อย 1 เหตุการณ์ 4. แขนงการตัดสินใจสุดท้ายของแต่ละทางเลือกจะไปสิ้นสุด ด้านขวามือในแนวเดียวกัน

ขนาดใหญ่ ขนาดเล็ก แขนงการตัดสินใจ การสร้างแขนงการตัดสินใจ 1. กำหนด 1. กำหนด เป็นจุดตัดสินใจจุดแรก ขนาดใหญ่ ขนาดเล็ก

ขายดี ขายไม่ดี ขนาดใหญ่ 2. ณ จุดปลายทางเลือกกำหนดเหตุการณ์เพื่อเป็นสาขาของสภาพการณ์ ขายดี ขนาดใหญ่ ขายไม่ดี

เหตุการณ์ 1 ทางเลือก 1 เหตุการณ์ 2 ทางเลือก 2 เหตุการณ์ 1 เหตุการณ์ 2 แขนงการตัดสินใจ เหตุการณ์ 1 ทางเลือก 1 เหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ 1 ทางเลือก 2 เหตุการณ์ 2

กระบวนการตัดสินใจ การกำหนดปัญหา (Intelligent Phase) การค้นหาปัญหา การแบ่งประเภทของปัญหา การแตกย่อยปัญหาให้เล็กลง การหาเจ้าของหรือที่มาของปัญหา การออกแบบ (Design Phase) ตัวแปรในตัวแบบเชิงปริมาณ

ตัวแปรในตัวแบบเชิงปริมาณ ตัวแปรผลลัพธ์ (Result Variables) หรือ ตัวแปรตาม (Dependent variables) ตัวแปรตัดสินใจ (Decision Variables) ตัวแปรที่ไม่สามารถควบคุมได้ (Uncontrollable Variables หรือ Parameters) ตัวแปรผลลัพธ์ระหว่างกลาง (Intermediate Result Variables)

การเลือก (Choice Phase) วิธีการเชิงวิเคราะห์ (Analytical Techniques) วิธีการค้นหาแบบเดา (Blind Search Approaches) วิธีการค้นหาแบบฮิวริสติก (Heuristic Search Approaches) การนำไปปฏิบัติ (Implementation Phase) การสร้างตัวแบบ ตัวแบบเชิงขนาด (Iconic หรือ Scale Models) ตัวแบบเชิงอุปมา (Analog Models) และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical หรือ Quantitative Models)

การตรวจสอบ (Monitoring Phase) การประเมินทางเลือก การประเมินในด้านของจุดประสงค์ที่หลากหลาย การประเมินในแง่ของความอ่อนไหว

แบบแผนหรือกระบวนการตัดสินใจหรือตัวแบบในการตัดสินใจ วิเคราะห์ปัญหา ตัดสินใจ กำหนดทางเลือก กำหนดเหตุการณ์ วิเคราะห์ผลลัพธ์ กำหนดเกณฑ์ การตัดสินใจ

การตัดสินใจภายใต้ความแน่นอน (decision making under certainty) พิจารณาผลตอบแทน พิจารณาต้นทุน Yj คือ ทางเลือก j a ij คือ ค่าสัมประสิทธิ์ของ เหตุการณ์ i จากทางเลือก j x ij คือ ค่าของเหตุการณ์ i จากทางเลือก j

การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง (decision making under risk) การพิจารณาทางเลือกโดยใช้ค่าคาดหวัง (Expected Value: EV) การพิจารณาทางเลือกโดยใช้ค่าเสียโอกาส (Expected Opportunity Value: EOL) Max Axi = EV Min Bxi = EOL

การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน (decision making under uncertainty) เกณฑ์เลือกทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนมากที่สุดจากทุกทางเลือกของเหตุการณ์ที่มากที่สุด (Maximax Criterion) เกณฑ์เลือกทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนน้อยที่สุดจากทุกทางเลือกของเหตุการณ์ที่มากที่สุด (Minimax Criterion) ตัวแบบการเลือก ตัวแบบการเลือก

เกณฑ์เลือกทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนมากที่สุดจากทุกทางเลือกของเหตุการณ์ที่น้อยที่สุด (Maximin Criterion) เกณฑ์เลือกทางเลือกที่มีค่าเสียโอกาสน้อยที่สุดจากทุกทางเลือกของเหตุการณ์ที่มีค่าเสียโอกาสมากที่สุด (Minimax Regret Criterion) ตัวแบบการเลือก ตัวแบบการเลือก

เกณฑ์เลือกทางเลือกที่มีค่าที่มากที่สุดของส่วนต่างค่าคาดหวังที่จะได้รับมากที่สุดกับค่าคาดหวังที่น้อยที่สุด (Pessimism Optimism Index หรือ Hurwize Criterion) เกณฑ์เลือกทางเลือกที่มีค่ามากที่สุดของค่าเฉลี่ยจากผลรวมทุกเหตุการณ์ (principle of insufficient reason หรือ Laplace Criterion) ตัวแบบการเลือก ตัวแบบการเลือก

จบการบรรยาย