ชีววิทยา นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เนื้อหา โครงสร้างส่วนประกอบของเซลล์ประสาท ชนิดและหน้าที่ของเซลล์ประสาท
Advertisements

Basic principle in neuroanatomy
ระบบประสาท (Nervous System)
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
วัตถุประสงค์ เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนนักศึกษาสามารถอธิบาย
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
Mind Mapping อ. พิมพ์ชนก หาคำ 23 เมษายน 2556.
สมองคน (Human Brain) Human Brain ความจำ จินตนาการและความสร้างสรรค์
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของเซลล์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ My.athiwat.
1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่องท่าทางการทำงานที่ถูก หลักการยศาสตร์ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน สนับสนุนโดยสำนักงานประกันสังคม.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
เคมีอุตสาหกรรม 1. อุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน: อุตสาหกรรมปิโตรเคมี
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
ศิลปะโรมัน (ROMAN ART)
บทที่ 8 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
โครงสร้างและ หน้าที่ของราก
ระบบประสาทและ การแสดงพฤติกรรม.
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ครูปฏิการ นาครอด.
GALILEO GALILEI กาลิเลโอ กาลิเลอี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดสระบุรี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประพนธ์ อางตระกูล สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
นายสุรชัย ดอกแก้ว โรงเรียนสตรีสิริเกศ จังหวัดศรีสะเกษ สพม. 28
การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (meiosis)
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
แผ่นดินไหว.
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
จมูกและการรับกลิ่น ภายในเยื่อบุโพรงจมูก มีเซลล์รับกลิ่น (Olfactory cells) ซึ่งเป็นเซลล์ประสาท 2 ขั้ว ปลายเดนไดรต์ของเซลล์ประสาทมีหลายประเภทจึงรับกลิ่นได้หลายอย่างโดยเมื่อมีสารเคมีมากระตุ้น.
ระบบประสาทและการแสดงพฤติกรรม (Nervous system and Animal Behavior)
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในใยประสาท
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
ระบบย่อยอาหาร.
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
Tree.
Structure of Flowering Plant
การแบ่งเซลล์ (CELL DIVISION)
พันธะโคเวเลนต์ พันธะไอออนิก พันธะเคมี พันธะโลหะ.
การทำงานของระบบประสาทอัตโนวัติ
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ปัจจัยพื้นฐาน ของพฤติกรรมมนุษย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชีววิทยา นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ

ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส (Nervous system and sense organs) Nervous tissue Irritability 1. Neuron Impulse conduction integration Schwann’s cell 2. Supporting cell Oligodendrocyte

เซลล์ประสาทและการทำงานของเซลล์ประสาท ตัวเซลล์ประสาท (Cell body) มีนิวเคลียส 1 อันอยู่กลางเซลล์ เซลล์ประสาท (neuron) มีนิวโรพลาซึม (neuroplasm) นิวโรไฟบริล (neurofibril) สานกันเป็นตาข่าย ประกอบด้วย Nissl’s body Intermediate filament เป็น cytoskeleton ใยประสาท (neurite)

เดนไดรต์ (dendrite) แอกซอน (axon) ใยประสาท (neurite) เดนไดรต์ (dendrite) แอกซอน (axon) นำ กระแสประสาท เข้าตัวเซลล์ นำกระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ ไม่ แตกแขนง ปลาย ของใย แอกซอนจะมีถุงบรรจุ สารสื่อประสาท (synaptic vesicle) มี จำนวนตั้งแต่ 1 ใย ขึ้นไป แตกแขนงมาก คล้ายต้นไม้ มี 1 ใยเท่านั้น ตรงโคน แอกซอน จะโป่ง นูนใสเรียก axon hillock

ใยประสาทที่ยาวๆ จะมีเยื่อไมอิลิน (Myelin sheath) หุ้มเป็นระยะๆ โดยเยื่อไมอิลิน  กำหนดมาจากเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ชวานน์ (Schwannes cell) หรือ โอลิโกเดนโดรไซด์ (Oilgodendrocyte) เป็นฉนวนกั้นประจุ (ion) ช่วยให้กระแสประสาทเคลื่อนที่เร็วขึ้นประมาณ 10 เท่าของใยประสาทที่ไม่มีเยื่อไมอิลิน (ion)  บริเวณรอยคอดที่รอยต่อของเยื่อไมอิลิน เรียก Node of Ranvier ซึ่งไม่มีเยื่อไมอิลินจึงเป็นตำแหน่งที่มีการแลกเปลี่ยนอิออน (K+ และ Na+)

Region of impulse initiation Dendrites Nucleus Cell body Myelin sheath Region of impulse initiation Axon Myelin sheath (covering axon) Nodes of Ranvier Dissected schwann cell Axon branch Direction of impulse Myelin Axon Collateral fibers Synaptic knobs Target cell (muscle)

1. จำแนกตามโครงสร้าง 2. จำแนกตามหน้าที่ ประเภทของ Neuron 1.1 Unipolar neuron 1.2 Bipolar neuron 1.3 Multipolar neuron 2. จำแนกตามหน้าที่ 2.1 Sensory neuron 2.2 Motor neuron 2.3 Association neuron (Interneuron)

จำนวนตามโครงสร้าง เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron) เซลล์ประสาท 2 ขั้ว (bipolar neuron) เซลล์ประสาทหลาย (multipolar neuron) ใยเดนไดรต์และแอกซอนรวมกันเป็นใยเดียวยึดกับตัวเซลล์ มีใยเดนไดรต์และแอกซอนชนิดละ 1 ใย มีเดนไดรต์มากกว่า 1 ใย แต่มีแอกซอนเดียว ปลายสุดของเดนไดรต์ จะเปลี่ยนเป็นหน่วยรับความรู้สึกที่ผิวหนัง พบที่เยื่อบุโพรงจมูก หูส่วนใน และเรตินาของตา มีปริมาณมากที่สุดในร่างกาย พบในสมอง ไขสันหลัง และ ปมประสาท พบในปมประสาทรากบนของไขสันหลัง (dorsal root ganglion)

เซลล์ประสาท รับความรู้สึก เซลล์ประสาทประสาทงาน จำนวนตามหน้าที่ เซลล์ประสาท รับความรู้สึก (Sensory neuron) เซลล์ประสาทสั่งการ (Motor neuron) เซลล์ประสาทประสาทงาน (association neuron) ปลายเดนไดรต์เปลี่ยนเป็นหน่วยรับความรู้สึกหรือรับกระแสประสาทมาจากหน่วยความรู้สึก ปลายแอกซอนส่งกระแสคำสั่งไปกับหน่วยปฏิบัติงาน (effector) เป็นตัวกลางรับส่งกระแสประสาทระหว่างเซลล์ประสาทรับความรู้สึกและเซลล์ประสาทสั่งการ มีโครงสร้างเป็นเซลล์ประสาทหลายขั้วโดยมีใยประสาทยาวที่สุด(ใยเอกซอน) มีโครงสร้างเป็นเซลล์ประสาทขั้วเดียวหรือ สองขั้ว มีโครงสร้างเป็นเซลล์ประสาทหลายขั้ว

ในสุด นอกสุด :- Axon (dendrite) Myelin sheath (ฉนวน) Schwann’s cell