กลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
การตลาดในธุรกิจยุคปัจจุบัน (Marketing in the Present Business)
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
หลักการ และ วิธีการ ของ บี.-พี.
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
ผู้จัดการเกษตรแปลงใหญ่
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
กลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการบุคลากรทรัพยากรมนุษย์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
Supply Chain Management
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์ บทที่ 6. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร

ความหมายของทุนมนุษย์ Theodore W. Schultz นิยาม ทุนมนุษย์ คือ ความสามารถหลายๆอย่างที่อยู่ในตัวคน ทั้งที่ติดตัวมาแต่กำเนิด หรือเกิดจากการสะสมเรียนรู้ โดยแต่ละคนจะมียีนส์เฉพาะตน ซึ่งบ่งบอกความสามารถ ซึ่งมีลักษณะที่มีคุณค่า ซึ่งมีคุณค่ามากขึ้นเมื่อลงทุนเหมาะสม The Society for Human Resource Management นิยาม ทุนมนุษย์ คือ ผลรวมของคุณลักษณะต่างๆ ประสบการณ์ชีวิต ความรู้ พลัง ความปรารถนา ซึ่งคนนำเอามาลงทุนในการทำงาน

ความหมายของทุนมนุษย์ Lynda Gratton & Sumantra Ghoshal นิยาม ทุนมนุษย์ มีองค์ประกอบ 3 ด้าน ทุนทางปัญญา ความรู้ ความสามารถในการเรียนรู้ ความเชี่ยวชาญเฉพาะ Intellectual Capital เครือข่ายความสัมพันธ์ ความไว้วางใจ ความน่าเชื่อถือ Human Capital ทุนทางอารมณ์ ทุนทางสังคม Emotional Capital Social Capital การรับรู้ตนเอง ความมีศักดิ์ศรี การมีความยืดหยุ่น

ทุนมนุษย์ กับ ทุนทางกายภาพ ทุนมนุษย์ (Human Capacity) ทุนทางกายภาพ (Physical Capacity) ซื้อขายไม่ได้ ซื้อขายได้ ติดอยู่ในตัวเจ้าของทุน แยกออกจากเจ้าของทุนได้ เกิดประโยชน์เมื่อเจ้าของทุนนำมาใช้ประโยชน์ ใช้ประโยชน์ได้โดยไม่คำนึงถึงเจ้าของทุน สูญหายไปพร้อมเจ้าของทุน บางครั้งอายุยืนกว่าเจ้าของทุน นำไปใช้จะเพิ่มความรู้แก่เจ้าของทุน เครื่องจักรเมื่อใช้จะเสื่อมค่า เสื่อมราคา

หลักการในการบริหารทุนมนุษย์ในระดับบุคคล 4 ประการ ภายใต้ความสัมพันธ์แบบสมัครใจ (Volunteer Model) : บุคคลต้องมีอิสระและมีความกล้าผลักดันและพัฒนาตนเองให้เต็มศักยภาพหรือเต็มสมรรถนะที่ตนมีอยู่ เช่น เครื่องมือประเมินแบบ 360 องศา บุคคลต้องข้ามให้พ้นจากความคิดที่ว่าตนเป็นเพียงสินทรัพย์ (Assets) ขององค์การ : โดยต้องมองว่าตน คือ นักลงทุน (Investor) ในการสะสมความรู้และพัฒนาตนเองอย่างมีการวางแผน

หลักการในการบริหารทุนมนุษย์ในระดับบุคคล 4 ประการ บุคคลต้องพยายามเปิดใจรับรู้และเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ : ต้องอาศัยกระบวนการในการเรียนรู้ 3 ประการ คือ การประยุกต์ (Application) การเรียนรู้แบบ Induction (การสรุปจากการสังเกต) และการเรียนรู้แบบสะท้อนกลับ (Refection) ความรู้ที่ใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน : มักเกิดจากการบูรณาการองค์ความรู้จากหลากหลายสาขาวิชา นำไปสู่ความรู้ข้ามพรมแดน ทุนมนุษย์ด้านสังคม ทุนทางอารมณ์ และสะสมความรู้ด้าน Tacit Knowledge

การบริหารทุนมนุษย์ (Human Capital Management, HCM) ตัวแบบบูรณาการของทุนมนุษย์ HCM องค์การ เอกลักษณ์องค์การ การปฏิบัติการด้านบุคลากร การพัฒนาบุคลากร ความเสียสละ ความผูกพัน แรงจูงใจ พนักงาน

ความแตกต่างของ HCM กับ HRM & วิวัฒนาการ HCM Andrew Mayo (2001) เสนอว่า HCM มุ้งเน้น คุณค่าของคน และสิ่งที่คนสร้าง และเน้นการประเมินวิธีการบริหารบุคคลและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น HRM มุ้งเน้น กระบวนการ หรือหน้าที่ด้านบุคคล (HR Function)

ความแตกต่างของ HCM กับ HRM & วิวัฒนาการ HCM Jim Matthewman & Floriane Matignon (2005) เสนอว่า วิวัฒนาการของ HCM เริ่มต้นจาก การเน้นการประเมินประสิทธิภาพการบริหารคน การประเมินผลกระทบของกระบวนการการบริหารคน การใช้ข้อมูลทุนมนุษย์ การพัฒนาตัวชี้วัดและการคำนวณความคุ้มค่าในการลงทุนของคน การบริหารทุนมนุษย์เชิงกลยุทธ์

องค์ประกอบของกลยุทธ์การบริหารทุนมนุษย์ 4 ประการ ระบบต่างๆในการบริหารคน เช่น ข้อมูลองค์การ เพื่อการวางแผนและตัดสินใจ การทำให้เกิดระบบอัตโนมัติ เป็นการช่วยให้องค์การประหยัดและเกิดความคล่องตัว นำเอาระบบการวัด (HCM Metrics) มาใช้ในการบริหารทุนมนุษย์ การจัดการให้อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม (Alignment) เป็นการพัฒนาการคัดเลือกพนักงาน การสื่อสาร การบริหารผล การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการกำหนดค่าตอบแทน

การบริหารทุนมนุษย์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Human Capital Management) ปัจจัยที่ใช้กำหนดกลยุทธ์ ด้านการวิเคราะห์ภายนอก (External Analysis) อาทิ Michael E. Porter เสนอตัวแบบวิเคราะห์ปัจจัย 5 ประการ (Five-Forces Model) ได้แก่ คู่แข่งในปัจจุบัน คู่แข่งรายใหม่ ลูกค้า ผู้จำหน่ายปัจจัยการผลิต (Supplier) สินค้าทดแทน

การบริหารทุนมนุษย์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Human Capital Management) ปัจจัยที่ใช้กำหนดกลยุทธ์ การกำหนดกลยุทธ์ คือ แนวคิดจากสำนักที่เรียกว่า The Resource-Based View Theory) กล่าวไว้ความว่า ความสามารถที่โดดเด่น ความสามารถหลัก ทรัพยากรและการใช้ที่สะสมอยู่ในองค์การ จะทำให้องค์การเกิดข้อได้เปรียบในการแข่งขัน และผู้บริหารนำไปใช้กำหนดกลยุทธ์องค์การได้ ซึ่งสอดคล้องกับ ทุนทางปัญญา

ทุนทางปัญญา แบ่งได้ 3 กลุ่ม ทุนมนุษย์ (Human Capital) ประกอบด้วย ความสามารถ ทักษะ และความยืดหยุ่นตัวบุคคล ทุนทางความสัมพันธ์ (Relationship Capital) คือ ความสัมพันธ์กับผู้ผลิต ผู้จัดจำหน่าย ลูกค้า ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์การ ทุนขององค์การ (Organizational Capital) รวมถึง กระบวนการ โครงสร้าง ตัวแบบ ตราสินค้า ทรัพย์สินทางปัญญา

องค์การที่ใช้กลยุทธ์แบบมุ่งเน้นคน มนุษย์ เงิน ความสัมพันธ์ องค์การ กายภาพ

องค์การที่ใช้กลยุทธ์แบบมุ่งเน้นกระบวนการ เงิน ความสัมพันธ์ องค์การ กายภาพ มนุษย์

องค์การที่ใช้กลยุทธ์แบบมุ่งเน้นคนและกระบวนการแบบผสมผสานจนเป็นกระบวนการในการกำหนดกลยุทธ์ ขั้นตอนการกำหนดกลยุทธ์ 5 ข้อ+3 หลัก การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกองค์การ การวิเคราะห์ปัจจัยภายในองค์การ หลักความเกี่ยวพัน การพัฒนาทางเลือกเชิงกลยุทธ์ การทำความเข้าใจนำไปสู่ผลลัพธ์ หลักความเชื่อมโยง การตัดสินใจเลือกทางเลือก การพัฒนาแผนกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ พันธะผูกพัน การพัฒนาเครื่องมือในการวัดผล

การบริหารทุนมนุษย์เชิงกลยุทธ์ (SHCM) The U.S. Office of Personal management นิยาม SHCM (Strategic Human Capital Management) คือ “กระบวนการที่องค์การต้องดำเนินการเพื่อเป็นหลักประกันว่า องค์การจะได้บุคลากรในเชิงปริมาณและคุณภาพที่เหมาะสม ตรงกับตำแหน่งเพื่อสร้างความสำเร็จ ตอบสนองต่อพันธกิจ วิสัยทัศน์ เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ขององค์การ” The Society for Human Resource Management นิยาม ทุนมนุษย์ คือ คุณลักษณะ ประสบการณ์ชีวิต ความรู้ ความสามารถในการคิดค้น พลังความกระตือรือร้นที่คนนั้นเลือกที่จะลงทุนในการทำงานที่เขาได้รับมอบหมาย

องค์ประกอบของการบริหารทุนมนุษย์เชิงกลยุทธ์ การมีกลยุทธ์ (Strategic Choices) การเชื่อมโยงกลยุทธ์ (Strategic Alignment) การวางแผน (Planning) การแสวงหาผู้มีวุฒิสามารถ (Acquiring Talent) การสร้างความผูกพันกับพนักงานที่มีความสามารถ (Engaging Talent) การพัฒนาผู้มีวุฒิสามารถ (Developing Talent) การใช้ประโยชน์จากผู้มีวุฒิสามารถ (Deploying Talent) การสร้างผู้นำ (Leading and Managing Talent) การรักษาผู้มีวุฒิสามารถ (Retaining Talent)

การวัดทุนมนุษย์ การบริหารทุนมนุษย์ (HCM) พิจารณาตัวแปร Human Capital Intelligence : HCI ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วน เนื้อหา (Content) อาทิ ปัจจัยทางด้านกลยุทธ์ การวิเคราะห์ (Analysis) อาทิ ตัววัดผลงาน ตัวขับเคลื่อน ข้อมูลตัดสินใจ ผลลัพธ์ (Outcomes) อาทิ ผลลัพธ์ที่องค์การคาดหวัง

การวัดทุนมนุษย์ HCI มี 3 มิติ มิติด้านปฏิบัติการ (Operational) ตัวชี้วัดช่วยประเมินประสิทธิภาพ นำมาเปรียบเทียบกับข้อมูลที่เป็น Benchmark มิติด้านกลวิธี (Tactical) ใช้วัดประสิทธิผล การบรรลุเป้าหมาย โครงสร้าง กระบวนการของการบริหารคน มีการสร้างตัวชี้วัด (Key Performance Indicators) โดยนำไปเทียบกับแนวทางการปฏิบัติงานที่ดีที่สุด (Best Practice) มิติทางด้านกลยุทธ์ (Strategic) ใช้วางแผนคน ค่าตอบแทน การสรรหาในภาพรวมองค์การ

กรอบการวัดผลงาน การเก็บข้อมูล ระดับของข้อมูล ข้อมูลด้านประชากร ข้อมูลด้านการสรรหาและรักษา ข้อมูลด้านการฝึกอบรมและการพัฒนา ข้อมูลผลงาน ข้อมูลความคิดเห็น ระดับสูง ระดับของข้อมูล ระดับต้น ระดับกลาง

กรอบการวัดผลงาน มิติการวัดทุนมนุษย์ การจัดหาบุคลากร การพัฒนา การให้รางวัล การรักษาบุคลากร การลาออกจากงาน การจูงใจ

ประเด็น แนวโน้ม และอนาคตของการบริหารทุนมนุษย์ แนวโน้มของบริษัทชั้นนำของโลกได้หันเหจากการบริหารทรัพยากรมนุษย์แบบเดิมเข้าสู่การกำหนดเป็นกลยุทธ์ ประเด็นที่สำคัญในการบริหารทุนมนุษย์ คือ การพัฒนาผู้มีวุฒิสามารถและการพัฒนาภาวะผู้นำ (45 %) การจัดการผลการปฏิบัติงาน (21 %) การสร้างความคล่องตัวในกระบวนการจัดการ (18 %)

สรุป ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากรเป็นค่าใช้จ่ายที่มีมูลค่าสูงสุด หลักการของการบริหารทุนมนุษย์ที่สำคัญที่สุด คือ องค์การต้องหยุดคิดว่าพนักงานเป็นต้นทุนทางการบริหาร และเปลี่ยนมุมมองให้เป็น พนักงานเป็นการลงทุนทางกลยุทธ์ที่สำคัญ ทุนมนุษย์เป็นการเพิ่มและสร้างคุณค่าให้กับคน เป็นทุนขององค์การที่มีมูลค่าสูงและสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้มากกว่าสินทรัพย์อื่นใดขององค์การ โดยการมองทั้งคนและกระบวนการอย่างเชื่อมโยงด้วยหลักความเกี่ยวพัน หลักการเชื่อมโยง และหลักพันธะผูกพัน เป็นผลให้คนมีความสมัครใจที่จะผลักดันและพัฒนาตนเอง เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายขององค์การร่วมกัน