ดร.แสนคำ นุเสน 18 ชั่วโมงบรรยาย คะแนนเก็บ 20 % คะแนนสอบ 20%

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดร.แสนคำ นุเสน 18 ชั่วโมงบรรยาย คะแนนเก็บ 20 % คะแนนสอบ 20% กระบวนวิชา 209304 อุณหพลศาสตร์เคมีในอุตสาหกรรม (Thermodynamics in Industrial Chemistry) ดร.แสนคำ นุเสน 18 ชั่วโมงบรรยาย คะแนนเก็บ 20 % คะแนนสอบ 20%

Outline Solution Thermodynamics (3) (6.3) Ideal Gases Mixtures (3) Partial Properties in Binary Solutions Chemical Potential and Phase Equilibrium Ideal Gases Mixtures (3) Fugasity and Fugasity coefficient Generalized Correlations for the Fugacity Coefficient (3) Vapor-Liquid Equilibrium I, II, III (9) เอกสารอ้างอิง: Milo D. Koretsky. Engineering and Chemical thermodynamic, 2nd Edition, Chapter 6-8

Partial Molar Property ให้ K เป็นฟังก์ชันของ T, P และองค์ประกอบ n จะได้ว่า K = K(T, P, n1, n2, n3, …, ni, … nm) (6.13) เมื่อ K เป็นสมบัติที่ขึ้นกับปริมาณ

สมการ (6.13) สามารถเขียนในรูปผลบวกเชิงอนุพันธ์ของสมบัติ เทียบกับการเปลี่ยนแปลงเชิงอนุพันธ์ของปริมาณที่สภาวะอื่น ๆ คงที่ คือ ตัวอย่าง

สมบัติโมลาร์ย่อย (Partial molar property, 𝐾 𝑖 ) (6.15) ตัวอย่าง

Partial Molar enthalpy ข้อควรระวัง จากสมการ (6.15) สามารถเขียนสาการ (6.14) ใหม่ได้เป็น Partial Molar Volume ตัวอย่าง Partial Molar enthalpy

ถ้าให้ T และ P คงที่ (6.16) Integrate สมการด้านบน จะได้ C คือค่าคงที่ที่ได้จากการอินทิเกรต Intensive property, k, สมบัติที่ไม่ขึ้นกับมวลของระบบ แต่ขึ้นกับ T, P และจำนวนองค์ประกอบในระบบ Extensive property, K สมบัติที่ขึ้นกับมวลทั้งหมดของระบบ ยกตัวอย่าง

จากสมการ ค่า K จะเป็นศูนย์ก็ต่อเมื่อผลรวมของ ni เข้าใกล้ศูนย์ จะได้ (6.17) สมบัติรวมของระบบขององค์ประกอบ i คือ ผลรวมของสมบัติโมลาร์ย่อยคูณกับจำนวนโมลขององค์ประกอบ i ถ้าหารสมการนี้ด้วยจำนวนโมลรวมของระบบ จะได้ (6.18)

สมบัติโมลาร์ย่อยสามารถดัดแปลงในทำนองเดียวกันกับ สมบัติพลังงานทั้งหมด (Total energy properties) โดยการใช้สมการ 𝐻 𝑖 = 𝑈 𝑖 +P 𝑉 𝑖 𝐺 𝑖 = 𝐻 𝑖 +T 𝑆 𝑖

สรุปความแตกแต่งของสมบัติทางเทอร์โมไดนามิกส์ Total Solution Properties สมบัติรวมทั้งหมดของสารละลาย

สรุปความแตกแต่งของสมบัติทางเทอร์โมไดนามิกส์ Pure Species Properties สมบัติของสารบริสุทธิ์

สรุปความแตกแต่งของสมบัติทางเทอร์โมไดนามิกส์ Partial Molar Properties สมบัติโมลาร์ย่อยของสารละลาย

สรุปความแตกแต่งของสมบัติทางเทอร์โมไดนามิกส์ ข้อควรระวัง

The Gibbs-Duhem Equation พิจารณาระบบที่มี T และ P คงที่ Differential สมการบนจะได้ จากสมการ (6.16) แทนสมการนี้ในสมการบนจะได้ (6.19) Gibbs-Duhem Equation

The Gibbs-Duhem Equation (partial molar volume, 𝑽 𝒊 ) พิจารณาระบบที่มี 2 องค์ประกอบ a และ b ที่ T และ P คงที่ จาก จะได้ สำหรับระบบสององค์ประกอบ สามารถ differentiate เทียบกับ xa จะได้ จากนั้นสารด้วยจำนวนโมลรวม nT และจัดสมการใหม่จะได้ จงหาความสัมพันธ์ของ 𝑉 𝑎 =…

Graphical Determination of Partial Molar Properties พิจารณาหาสมบัติปริมาตรโมลาร์ย่อย 𝑽 𝒊 ระบบที่มี 2 องค์ประกอบ a และ b ที่ T และ P คงที่ จากสมการ (6.18) Differentiating เทียบกับ x2, คูณ x2 และใช้ความสัมพันธ์ของ Gibbs–Duhem equation จะได้ ให้แสดงวิธีการพิสูจน์สมการ ถ้า Dif. เทียบกับ x1

หลักการของ Partial property สมบัติโมลาร์ย่อยของแต่ละองค์ประกอบนั้น ขึ้นอยู่กับสัดส่วนขององค์ประกอบเช่นเดียวกับสมบัติของสารละลายโดยตรง ทั้งนี้หากคิดให้ความเข้มข้นของสาร i ซึ่งเป็นองค์ประกอบหนึ่งของสารละลายมีค่าสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนกระทั้งเข้าใกล้สาร i บริสุทธิ์ ทั้งค่า K และ 𝐾 𝑖 จะมีค่าเข้าสู่สมบัติของสารบริสุทธิ์ Ki โดยสามารเขียนเป็นสมการได้ดังนี้ lim 𝑥 1 →1 𝐾 𝑖 = 𝑘 𝑖 สำหรับองค์ประกอบที่ถูกเจือจางลงจนกระทั้งสัดส่วนโดยโมลของมันมีค่าเข้าใกล้ศูนย์นั้น เราไม่สามารถเขียนสมบัติของสารนั้นให้อยู่ในรูปทั่วไปได้ ค่าที่ใช้มักได้มาจากการทดลองหรือจากโมเดลที่ใช้ สามารถเขียนได้เป็น lim 𝑥 1 →0 𝐾 𝑖 ≡ 𝐾 ∞ 𝑖

ตัวอย่าง 1 ในห้องทดลองแห่งหนึ่ง มีความต้องการใช้สารละลายป้องกันการเยือกแข็ง (antifreezing) ในปริมาตรเท่ากับ 2,000 cm3 ที่ประกอบด้วยเมทานอล 30% ในน้ำ ในที่นี้จะต้องเตรียมเมทานอบบริสุทธิ์และน้ำบริสุทธิ์ที่ 25 oC ในปริมาตรอย่างละเท่าไรในการผสมให้เป็นสารป้องกันการเยือกแข็ง 2,000 cm3 นี้ ที่ 25 oC กำหนดให้สมบัติปริมาตรโมลาร์ย่อย (partial molar volume) ของเมทานอลและน้ำในสารละลาย 30 mol% เมทานอลในน้ำ รวมถึงค่าปริมาตรเชิงโมลของสารบริสุทธิ์ที่ 25 oC มีค่าดังนี้ เมทานอล (1) V 1 = 38.632 cm3 mol-1 V1 = 40.727 mol-1 น้ำ (2) V 2 = 17.765 cm3 mol-1 V2 = 18.068 mol-1

การบ้าน h = 400x1 + 600x2 +x1x2(40x1+20x2) เอนทัลปีของระบบของเหลวสองสารซึ่งประกอบด้วยสาร 1 และสาร 2 ในระบบที่ T และ P คงที่นั้นแสดงได้ด้วยสมการ h = 400x1 + 600x2 +x1x2(40x1+20x2) โดยที่ h มีหน่วยเป็น J/mol จงพัฒนาสมการที่ใช้แสดง 𝐻 1 และ 𝐻 2 ในรูปฟังก์ชันของ x1, คำนวณหาตัวเลขสำหรับเอนทัลปีของสารบริสุทธิ์ h1 และ h2 และคำนวณหาค่าตัวเลขสำหรับ partial enthalpy ในสภาวะเจือจางอนันต์ 𝐻 1 ∞ และ 𝐻 2 ∞