ประกาศกระทรวงแรงงานเรื่อง อัตราเงินสมทบ อัตราเงินฝาก วิธีการประเมินและการเรียกเก็บเงินสมทบ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา24-08-2559.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประกาศกระทรวงแรงงานเรื่อง อัตราเงินสมทบ อัตราเงินฝาก วิธีการประเมินและการเรียกเก็บเงินสมทบ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา24-08-2559

สรุปสาระสำคัญ 1. ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป 2. ให้ยกเลิก (1) ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง อัตราเงินสมทบ อัตราเงินฝาก วิธีการประเมินและการเรียกเก็บเงินสมทบ ลงวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2537 (2) ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง อัตราเงินสมทบ อัตราเงินฝาก วิธีการประเมินและการเรียกเก็บเงินสมทบ (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 (3) ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง อัตราเงินสมทบ อัตราเงินฝาก วิธีการประเมินและการเรียกเก็บเงินสมทบ (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2546 (4) ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง อัตราเงินสมทบ อัตราเงินฝาก วิธีการประเมินและการเรียกเก็บเงินสมทบ (ฉบับที่ 4 ) ลงวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2549 3. ให้สำนักงานกำหนดรหัสประเภทกิจการของนายจ้างตามตารางที่ 1 ท้ายประกาศนี้ โดยพิจารณาจากประเภทกิจการที่นายจ้างดำเนินการและให้นายจ้าง จ่ายเงินสมทบตามอัตราเงินสมทบของรหัสประเภทกิจการนั้น ในกรณีที่ไม่อาจกำหนดรหัสประเภทกิจการของนายจ้างอย่างหนึ่งอย่างใดได้ให้กำหนดรหัสประเภทกิจการที่มีความเสี่ยงภัยใกล้เคียงอย่างยิ่ง

สรุปสาระสำคัญ 4. ให้สำนักงานกำหนดรหัสประเภทกิจการของนายจ้างรายหนึ่งเพียงรหัสเดียว โดยพิจารณาจากกิจการหลักของนายจ้างผู้นั้น เว้นแต่นายจ้างประกอบกิจการหลายอย่างที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ถ้าไม่สามารถกำหนดรหัสประเภทกิจการ ให้กำหนดรหัสประเภทกิจการซึ่งเป็นบริการหรือผลผลิตสุดท้าย เว้นแต่ไม่สามารถแยกได้ว่าประเภทกิจการใดเป็นบริการหรือผลผลิตสุดท้ายให้กำหนดรหัสประเภทกิจการซึ่งมีลูกจ้างมากที่สุด ถ้าไม่สามารถแยกได้ว่าประเภทกิจการใดมีลูกจ้างมากที่สุดให้กำหนดรหัสประเภทกิจการที่มีอัตราเงินสมทบสูงสุด 5. ในกรณีที่นายจ้างประกอบกิจการผลิตหรือประกอบและจำหน่าย ให้สำนักงานกำหนดรหัสประเภทกิจการซึ่งเป็นกิจการผลิตหรือประกอบแล้วแต่กรณี 6. ในกรณีที่ผู้ประกอบกิจการได้ว่าจ้างด้วยวิธีเหมาค่าแรง โดยมอบให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดรับช่วงไปควบคุมดูแลการทำงานและรับผิดชอบในการจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างอีกทอดหนึ่งก็ดี หรือมอบให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดเป็นผู้จัดหาลูกจ้างมาทำงานอันมิใช่การประกอบธุรกิจจัดหางานก็ดี โดยการทำงานนั้นเป็นส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดในกระบวนการผลิตหรือธุรกิจในความรับผิดชอบของผู้ประกอบกิจการให้สำนักงานกำหนดรหัสประเภทกิจการตามประเภทกิจการของผู้ประกอบกิจการ 7. ในกรณีที่นายจ้างมีการควบรวมกิจการกับนายจ้างรายอื่น ให้สำนักงานกำหนดรหัสประเภทกิจการตามประเภทกิจการของนายจ้างที่มีการควบรวมกิจการ

สรุปสาระสำคัญ 8. ถ้าเป็นผลให้นายจ้างจ่ายเงินสมทบเพิ่มหรือสำนักงานต้องจ่ายเงินคืนให้แก่นายจ้าง ให้มีผลใช้บังคับย้อนหลังได้ไม่เกินหนึ่งปีนับแต่วันต้นแห่งปีที่มีการเปลี่ยนแปลง 9. ให้นายจ้างจ่ายเงินสมทบตามอัตราเงินสมทบ ซึ่งกำหนดไว้ในตารางที่ 1 ท้ายประกาศนี้ 10. ให้นายจ้างจ่ายเงินสมทบเป็นรายปี เงินสมทบให้คำนวณจากค่าจ้างที่นายจ้างจะต้องจ่ายให้แก่ลูกจ้างทั้งปี สำหรับเศษของเงินสมทบที่มีจำนวนตั้งแต่ห้าสิบสตางค์ขึ้นไปให้นับเป็นหนึ่งบาท ถ้าน้อยกว่านั้นให้ปัดทิ้ง ในกรณีที่นายจ้างประกอบกิจการหลายประเภท และมีหน้าที่จ่ายเงินสมทบทุกประเภทกิจการ ให้คำนวณเงินสมทบแยกตามประเภทกิจการนั้นๆ ลูกจ้างคนใดได้รับค่าจ้างเกินกว่าสองแสนสี่หมื่นบาทต่อปี ค่าจ้างที่นำมาคำนวณเงินสมทบสำหรับลูกจ้างผู้นั้น ให้คำนวณเพียงสองแสนสี่หมื่นบาท กรณีที่ลูกจ้างทำงานไม่ถึงหนึ่งปี การคำนวณเงินสมทบให้ลดลงตามส่วน 11. ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี ให้นายจ้างแจ้งจำนวนเงินค่าจ้างทั้งหมดของปีที่ล่วงมาแล้วที่ได้จ่ายจริงให้กับลูกจ้างตามแบบที่สำนักงานกำหนดโดยให้แจ้งนับแต่วันที่ต้องจ่ายเงินสมทบจนถึงวันสิ้นปีนั้น 12. ในกรณีที่นายจ้างต้องจ่ายเงินสมทบเพิ่ม หรือสำนักงานต้องจ่ายเงินคืนให้แก่นายจ้าง ให้นายจ้างหรือสำนักงานดำเนินการให้แล้วเสร็จ ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ทราบผลว่านายจ้างจะต้องจ่ายเงินสมทบเพิ่ม หรือสำนักงานต้องจ่ายเงินคืนแล้วแต่กรณี

สรุปสาระสำคัญ กรณีนายจ้างมีหน้าที่ต้องจ่ายเงินสมทบเพิ่มตามจำนวนที่คำนวณได้ ให้ดำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในเดือนมีนาคม 13. นายจ้างรายใดซึ่งมีหน้าที่จะต้องจ่ายเงินสมทบตั้งแต่วันต้นแห่งปีและยินยอมปฏิบัติ อาจยื่นคำขอต่อสำนักงานตามแบบที่สำนักงานกำหนด เพื่อขออนุญาตผ่อนชำระเงินสมทบเป็นงวดก็ได้ 14. นายจ้างซึ่งได้รับอนุญาตให้ผ่อนชำระเงินสมทบเป็นงวด ให้ฝากเงินไว้กับสำนักงานเป็นจำนวนร้อยละยี่สิบห้าของเงินสมทบ ซึ่งคำนวณโดยประมาณตลอดทั้งปี เพื่อเป็นการประกันการจ่ายเงินสมทบ ทั้งนี้ ภายในเดือนมกราคม 15. การจ่ายเงินสมทบของนายจ้าง ซึ่งได้รับอนุญาตให้ผ่อนชำระเงินสมทบเป็นงวดให้แบ่งจ่ายเป็นสี่งวดตามปี และต้องจ่ายภายในเดือนถัดจากวันสิ้นงวดของแต่ละงวด พร้อมทั้งแจ้งจำนวนเงินค่าจ้างทั้งสิ้นของแต่ละงวดตามแบบที่สำนักงานกำหนด 16. นายจ้างซึ่งต้องจ่ายเงินสมทบตามตารางที่ 1 มาแล้วสี่ปีติดต่อกัน ให้นายจ้างจ่ายเงินสมทบในปีถัดไป ลดหรือเพิ่มอัตราเงินสมทบตามอัตราส่วนการสูญเสียของนายจ้างตามตารางที่ 2 ท้ายประกาศนี้