การรับคำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการบริหารงบประมาณ
Advertisements

การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมว่า ด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข การแจ้งข้อเท็จจริงของผู้ผลิต ผู้นำ เข้า ผู้ส่งออก.
เอกสารการบรรยายเรื่อง
ทรัพย์สินทางปัญญากับการส่งเสริมการประกอบธุรกิจการค้าและการตลาด
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
นางหทัยรัตน์ หงษ์ทอง ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายบริหาร และพิธีการบิน.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
การกำหนด คุณลักษณะครุภัณฑ์ นาตอนงค์ จันทร์แจ่มแจ้ง นักวิชาการพัสดุชำนาญการพิเศษ.
ขั้นตอนและระยะเวลาการบริการ การรับงบการเงิน / สำเนาบัญชี รายชื่อผู้ถือหุ้น รวมระยะเวลาการบริการ ภายใน 10 นาที รับงบการเงิน / สำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือ หุ้น.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
การบริหารจัดเก็บภาษีสินค้ายาสูบ
เกณฑ์การประเมินเพื่อ เลื่อนระดับสูงขึ้น
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดสุโขทัย
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
โดยอาจารย์ฐิติพร วัฒนชัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
การตรวจสอบผลิตภัณฑ์อาหาร ณ ด่านอาหารและยา
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
การจ้างงานชาวต่างชาติ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
กรมบัญชีกลาง กองการพัสดุภาครัฐ
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
กลุ่มเกษตรกร.
นายทะเบียนแจ้งผลการจองชื่อ
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
พิธีการส่งของออกทางบกที่ด่านศุลกากร
กรณีกองทุนหมู่บ้าน. กรณีกองทุนหมู่บ้าน กรณีกองทุนหมู่บ้าน (ต่อ) ตามหนังสือที่ พณ /1099 ลงวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
SMS News Distribute Service
ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา
กฎหมายเอกเทศสัญญา 1 อาจารย์ สุรศักดิ์ มีบัว สาขานิติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ครั้งที่ 13.
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายสำหรับการท่องเที่ยวและการโรงแรม
แจ้งเข้า – ออก ที่ถูกต้องได้ประโยชน์อย่างไร และงานสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรถจักรยานยนต์พ่วงข้าง(ซาเล้ง)ฯ
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การรับคำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร โดย นางสาวสุลักษณา สุนทรวิภาต นักวิชาการพาณิชย์ชำนาญการพิเศษ กลุ่มสารบบและตรวจรับคำขอ กองสิทธิบัตร 02/09/2558

Content : ความหมายสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร ประเภทของสิทธิบัตร เงื่อนไขการขอรับสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร หลักเกณฑ์การพิจารณาตรวจรับคำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ระบบสิทธิบัตร (e-patent) เอกสารประกอบการรับคำขอตาม พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกฯ การค้นหาสิทธิบัตรทั่วโลก 02/09/2558

02/09/2558

สิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร 02/09/2558

ความหมายสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร หมายความว่า หนังสือสำคัญที่ออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ.2522 แก้ไขเพิ่มเติมตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535 และพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2542 อนุสิทธิบัตร หมายความว่า หนังสือสำคัญที่ออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ ตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ.2522 แก้ไขเพิ่มเติมตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535 และพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2542 02/09/2558

ประเภทของสิทธิบัตร รูปแบบหรือประเภทของสิทธิบัตรตาม พ.ร.บ. สิทธิบัตรจะมีอยู่ 3 ประเภท คือ ประเภทที่หนึ่ง สิทธิบัตรการประดิษฐ์ หมายถึง การคิดค้นเกี่ยวกับ กลไก โครงสร้างส่วนประกอบของสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ เช่น กลไกของกล้องถ่ายรูป กลไกของเครื่องยนต์ ยารักษาโรค เป็นต้น หรือการคิดค้นกรรมวิธีในการผลิตสิ่งของ เช่น วิธีการในการผลิตสินค้า วิธีการในการเก็บรักษาพืชผักผลไม้ไม่ให้เน่าเสียเร็วเกินไป เป็นต้น ประเภทที่สอง สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์ หมายถึง การออกแบบรูปร่าง ลวดลายหรือสีสัน แบบผลิตภัณฑ์ หมายความถึง รูปร่างของแบบผลิตภัณฑ์ หรือองค์ประกอบของลวดลายหรือสีของแบบผลิตภัณฑ์ที่มองเห็นได้จากภายนอก อันมีลักษณะพิเศษ สำหรับผลิตภัณฑ์ ซึ่งสามารถใช้เป็นแบบสำหรับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมรวมทั้งหัตถกรรม เช่น การออกแบบแก้วน้ำให้มีรูปร่างเหมือนแจกัน เป็นต้น ประเภทที่สาม อนุสิทธิบัตร เป็นการให้ความคุ้มครองสิ่งประดิษฐ์คิดค้น เช่นเดียวกับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ แต่แตกต่างกันตรงที่การประดิษฐ์ที่จะขอรับอนุสิทธิบัตร นั้น เป็นการประดิษฐ์ที่มีการปรับปรุงเพียงเล็กน้อย ต่อยอด หรือเพิ่มประโยชน์ใช้สอยให้มากขึ้น 02/09/2558

เงื่อนไขในการขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ กฎหมายกำหนดว่า จะต้องมีคุณสมบัติครบทั้ง 3 อย่าง ดังต่อไปนี้ 1. เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ คือ ยังไม่เคยมีจำหน่ายหรือขายมาก่อน หรือยังไม่เคยเปิดเผยรายละเอียดของสิ่งประดิษฐ์ในเอกสารสิ่งพิมพ์ใดๆ ในทีวี หรือในวิทยุ มาก่อน 2. มีขั้นการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น คือ ไม่เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่สามารถทำได้ง่าย โดยผู้มีความรู้ในระดับธรรมดา หรืออาจพูดได้ว่า มีการแก้ไขปัญหาทางเทคนิคของสิ่งประดิษฐ์ที่มีมาก่อน 3. สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการผลิตทางอุตสาหกรรม หัตถกรรมเกษตรกรรม และพาณิชยกรรมได้ 02/09/2558

เงื่อนไขในการขอรับอนุสิทธิบัตร การประดิษฐ์ที่ขอรับอนุสิทธิบัตรได้ กฎหมายกำหนดว่า จะต้องมีคุณสมบัติครบทั้ง 2 อย่าง ดังต่อไปนี้ 1. เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ คือ ยังไม่เคยมีจำหน่ายหรือขายมาก่อน หรือยังไม่เคยเปิดเผยรายละเอียดของสิ่งประดิษฐ์ในเอกสารสิ่งพิมพ์ใดๆ ในทีวี หรือวิทยุ มาก่อน 2. สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการผลิตทางอุตสาหกรรม หัตถกรรมเกษตรกรรม พาณิชยกรรมได้ 02/09/2558

ประเภทคำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร 02/09/2558

ประเภทคำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร (ต่อ) 02/09/2558

บัญชีอัตราค่าธรรมเนียมของคำขอฯประเภทต่างๆ 02/09/2558

บัญชีอัตราค่าธรรมเนียมของคำขอฯประเภทต่างๆ (ต่อ) 02/09/2558

อายุการคุ้มครองสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร บัญชีอัตราค่าธรรมเนียมของคำขอฯประเภทต่างๆ (ต่อ) ค่าธรรมเนียมรายปีอนุสิทธิบัตร   ปีที่ 5 750 ปีที่ 6 1,500 หรือชำระทั้งหมดในคราวเดียว 2,000  ค่าธรรมเนียมต่ออายุอนุสิทธิบัตร ครั้งที่ 1 6,000 ครั้งที่ 2 9,000 อายุการคุ้มครองสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร - สิทธิบัตรการประดิษฐ์มีอายุ ๒๐ ปี - สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์มีอายุ ๑๐ ปี - อนุสิทธิบัตรมีอายุ ๖ ปี และอาจขอต่ออายุได้ ๒ คราวๆละ ๒ ปี รวม ๑๐ ปี 02/09/2558

หลักเกณฑ์และวิธีการในการขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร คำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร (คำขอใหม่) หลักเกณฑ์และวิธีการในการขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร มาตรา 17 ได้บัญญัติว่า การขอรับสิทธิบัตรให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดโดยกฎกระทรวง คำขอรับสิทธิบัตรให้มีรายการดังต่อไปนี้ (1) ชื่อที่แสดงถึงการประดิษฐ์ (2) ลักษณะและความมุ่งหมายของการประดิษฐ์ (3) รายละเอียดการประดิษฐ์ที่มีข้อความสมบูรณ์ รัดกุม และชัดแจ้งอันจะทำให้ ผู้มีความ ชำนาญในระดับสามัญในศิลปะหรือวิทยาการที่เกี่ยวข้องสามารถทำและปฏิบัติการตาม การประดิษฐ์นั้น ได้ และต้องระบุวิธีการในการประดิษฐ์ที่ดีที่สุดที่ผู้ประดิษฐ์จะพึงทราบได้ (4) ข้อถือสิทธิโดยชัดแจ้ง (5) รายการอื่นตามที่กำหนดโดยกฎกระทรวง.... 02/09/2558

การขอรับความคุ้มครองสิทธิบัตร /อนุสิทธิบัตร การยื่นขอจดทะเบียนจะต้องมีเอกสาร ดังนี้ คำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ /อนุสิทธิบัตร ต้องประกอบด้วย - แบบพิมพ์คำขอ แบบสบ/สผ/อสป/001-ก - รายละเอียดการประดิษฐ์ (กฎกระทรวง ฉ.21 ข้อ 3) - ข้อถือสิทธิ (กฎกระทรวง ฉ.21 ข้อ 4 , ข้อ 5) - บทสรุปการประดิษฐ์ (กฎกระทรวง ฉ.21 ข้อ 6) - รูปเขียน (ถ้ามี) (กฎกระทรวง ฉ.21 ข้อ 7) เอกสารประกอบคำขอ ต้องประกอบด้วย - คำรับรองสิทธิเกี่ยวกับการขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร (กรณีที่ผู้ขอเป็นบุคคล) - หนังสือโอนสิทธิ (กรณีที่ผู้ขอไม่ได้เป็นผู้ประดิษฐ์) - ต้นฉบับหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล ออกให้ไม่เกิน 6 เดือน(กรณีนิติบุคคล) - เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น สัญญาการว่าจ้าง/เอกสารแสดงการเป็นนายจ้างของผู้ประดิษฐ์ หนังสือมอบอำนาจ หนังสือโอนสิทธิ (กรณีที่ผู้ขอไม่ได้เป็นผู้ประดิษฐ์) - สำเนาบัตรประชาชน (ผู้ประดิษฐ์/ผู้ขอรับสิทธิบัตร) 02/09/2558

ตัวอย่างคำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร 02/09/2558

ตัวอย่างคำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร 02/09/2558

ตัวอย่างคำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร 02/09/2558

คำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร 02/09/2558

ตัวอย่างคำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร 02/09/2558

ตัวอย่างคำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร 02/09/2558

ตัวอย่างคำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร 02/09/2558

ตัวอย่างคำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร 02/09/2558

เอกสารสิทธิประกอบการขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร กรณีผู้ขอรับสิทธิบัตรเป็นบุคคลธรรมดา 1.คำรับรองเกี่ยวกับสิทธิ แบบ สป/สผ/๐๐๑-ก(พ) 2.สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน  ผู้ประดิษฐ์ ผู้ขอรับสิทธิบัตร พร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง 02/09/2558

เอกสารประกอบคำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร กรณีผู้ขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรเป็นนิติบุคคล 1. สัญญาโอนสิทธิขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ต้นฉบับหรือสำเนาหนังสือรับรองนิติบุคคล ซึ่งออกให้ไม่เกิน 6 เดือน หรือเอกสารตาม กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งนิติบุคคล 2.สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน  ผู้ประดิษฐ์ (ผู้โอน) ผู้ขอรับสิทธิบัตร (ผู้รับโอน) (เช่น กรรมการบริษัท หัวหน้าส่วนราชการ ผู้ได้รับมอบ อำนาจให้ลงนามแทน อธิการบดี ประธานมูลนิธิ เป็นต้น) พร้อมรับรองสำเนาถูกต้อง 02/09/2558

เอกสารประกอบคำขอรับสิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร 02/09/2558

ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent) http://www.ipthailand.go.th/index.php 02/09/2558

https://patentonline.ipthailand.go.th ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent) 02/09/2558

ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent) 02/09/2558

ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent) 02/09/2558

ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent) 02/09/2558

ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent) 02/09/2558

ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent) 02/09/2558

ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent) 02/09/2558

ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent) 02/09/2558

ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent) 02/09/2558

ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent) 02/09/2558

การตรวจรับคำขอฯตาม พ.ร.บ.อำนวยความสะดวก ฯ เอกสารที่ใช้ในการตรวจรับคำขอฯ ตาม พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกฯ 1. Checklist 2. บันทึกข้อตกลง (เอกสารประกอบคำบรรยาย) 02/09/2558

การตรวจรับคำขอฯตาม พ.ร.บ.อำนวยความสะดวก ฯ เจ้าหน้าที่จะต้องตรวจอะไรบ้าง ? 1. การตรวจรับคำขอใหม่ คำขอรับสิทธิบัตร / อนุสิทธิบัตร ครบหรือไม่ ? ครบ √ คำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร ซึ่งประกอบด้วย - แบบพิมพ์คำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร - รายละเอียดการประดิษฐ์ - ข้อถือสิทธิ - รูปเขียน (ถ้ามี) - บทสรุปการประดิษฐ์ ไม่ครบ x (ถ้าองค์ประกอบของคำขอไม่ครบ ถือว่าไม่ถูกต้อง ให้คืนคำขอ) 02/09/2558

การตรวจรับคำขอฯตาม พ.ร.บ.อำนวยความสะดวก ฯ 02/09/2558

การตรวจรับคำขอฯตาม พ.ร.บ.อำนวยความสะดวก ฯ กรณีเอกสารครบถ้วน (บุคคลธรรมดา/นิติบุคคล) ลำดับการตรวจเอกสาร 1.แบบพิมพ์คำขอ กรอกข้อมูลครบ 2.รายละเอียดการประดิษฐ์ มี 3.ข้อถือสิทธิ มี 4.รูปเขียน (ถ้ามี) (ถ้ามี) 5.บทสรุปการประดิษฐ์ มี เอกสารประกอบคำขอ บุคคลธรรมดา นิติบุคคล 1.คำรับรองเกี่ยวกับสิทธิ 1.สัญญาโอนสิทธิ 2.สำเนาบัตรประชาชน 2.หนังสือรับรองฯ - ผู้ประดิษฐ์/ผู้ขอฯ ไม่เกิน 6 เดือน 3.สำเนาบัตรฯ กรรมการผู้มีอำนาจ ลงนาม + ตราประทับ 26 ส.ค.58 1503000020 02/09/2558

กรณีเอกสารไม่ครบถ้วน (บุคคลธรรมดา/นิติบุคคล) ลำดับการตรวจเอกสาร 1.แบบพิมพ์คำขอ กรอกข้อมูลครบ 2.รายละเอียดการประดิษฐ์ มี 3.ข้อถือสิทธิ มี 4.รูปเขียน (ถ้ามี) (ถ้ามี) 5.บทสรุปการประดิษฐ์ มี เอกสารประกอบคำขอ (ขยายได้ไม่เกิน 90 วัน)****** บุคคลธรรมดา นิติบุคคล 1.คำรับรองเกี่ยวกับสิทธิ 1.สัญญาโอนสิทธิ 2.สำเนาบัตรประชาชน 2.หนังสือรับรองฯ - ผู้ประดิษฐ์/ผู้ขอฯ ไม่เกิน 6 เดือน 3.สำเนาบัตรฯ กรรมการผู้มีอำนาจ ลงนาม + ตราประทับ 1503000020 26 ส.ค.58 02/09/2558

กรณีไม่เอกสารครบถ้วน (บุคคลธรรมดา/นิติบุคคล) 26 ส.ค. 58 1503000020 24 พ.ย.2558 02/09/2558

ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent) 02/09/2558

ระบบรับคำขอสิทธิบัตร (e-patent) 02/09/2558

Check List ตาม พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกฯ 1.การจดทะเบียนสิทธิบัตรการประดิษฐ์ 2.การจดทะเบียนอนุสิทธิบัตร 3.การจดทะเบียนขอรับความคุ้มครองแบบผังภูมิวงจรรวม 4.การจดทะเบียนการอนุญาตให้ใช้สิทธิตามสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร 5.การจดทะเบียนโอนสิทธิตามสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร 6.คำขอเปลี่ยนแปลงข้อมูลหลังรับจดทะเบียน (แก้ไข) 7.การต่ออายุอนุสิทธิบัตร 8.การจดทะเบียนสิทธิบัตรการประดิษฐ์ระหว่างประเทศ (PCT) 9.การฟื้นสิทธิให้คำขอระหว่างประเทศ(PCT)ยังคงมีผลในประเทศไทย (อธิบายจากเอกสารประกอบการบรรยาย) 02/09/2558

สิทธิบัตร และ อนุสิทธิบัตร คำขอที่อยู่ในกระบวนงาน พ.ร.บ.อำนวยความสะดวก ทุกกระบวนงาน เมื่อ สนง.พณจ.รับคำขอไว้แล้ว 1. กรณีเอกสารครบถ้วนให้ส่งมาที่กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้เลย 2. แต่ถ้าเอกสารไม่ครบ ให้ สนง.พณจ.เก็บคำขอจนครบระยะเวลาผ่อนผัน (ไม่เกิน 90 วัน) เมื่อครบกำหนดระยะเวลาแล้ว จะมี 2 กรณี ดังนี้ กรณีที่ 1 ผู้ขอฯนำมายื่นแก้ไข+เอกสารเพิ่มเติม+ชำระค่าธรรมเนียม 50 บาท ส่งกรม กรณีที่ 2 ผู้ขอฯไม่ส่งเอกสาร ให้ พณจ.คืนคำขอแก่ผู้ขอฯโดยทำหนังสือแจ้งคืนคำขอฯ และแจ้งมายังกรมฯถึงการคืนคำขอนั้นๆ 02/09/2558

หนังสือแจ้งคืนคำขอตาม พ.ร.บ. อำนวยความสะดวกฯ 02/09/2558

รายชื่อหน่วยงานที่ได้รับการยกเว้น 02/09/2558

รายชื่อหน่วยงานที่ได้รับการยกเว้น 02/09/2558

รายชื่อหน่วยงานที่ได้รับการยกเว้นค่าธรรมเนียมฯ 02/09/2558

การตรวจค้นสิทธิบัตรทั่วโลก 02/09/2558

การตรวจค้นสิทธิบัตรทั่วโลก 02/09/2558

การตรวจค้นสิทธิบัตรทั่วโลก 02/09/2558

การตรวจค้นสิทธิบัตรทั่วโลก 02/09/2558

การตรวจค้นสิทธิบัตรทั่วโลก 02/09/2558

การตรวจค้นสิทธิบัตรทั่วโลก 02/09/2558

การตรวจค้นสิทธิบัตรทั่วโลก 02/09/2558

เบอร์โทร. 0-2547-4637 เบอร์โทร.ภายใน 1002 patentadmin@ipthailand.go.th เบอร์โทร. 0-2547-4637 เบอร์โทร.ภายใน 1002 02/09/2558

THANK YOU FOR YOUR ATTENTION! 02/09/2558