การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบข้อมูลและกิจกรรมของโครงการสืบสาน พระราชปณิธานต้านมะเร็งเต้านม
Advertisements

การมีภาวะเจริญพันธุ์ลดลง
Adjuvant therapy in breast cancer Dr.Adisai Pattatang Chonburi cancer center.
จัดทำโดย นสภ. มารุตต์ ตรีอินทอง รหัส มหาวิทยาลัยนเรศวร
โครงการประเมินประสิทธิผลการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีไทย ภายใต้โครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม สู่แนวคิดการพัฒนาสาธารณสุข โดย...นายแพทย์อภิรักษ์
Breast cancer screening & Evaluation in Thailand
สถานการณ์โรคมะเร็ง จังหวัดเชียงใหม่ ปี
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง.
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
1. เพื่อให้ผู้บริหารโรงเรียนและครูรับผิดชอบ จัดทำแบบทุกโรงเรียนความรู้ความเข้าใจ ด้านการวางแผน การจัดทำแผนพัฒนา การศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี และการ บริหารงบประมาณ.
ผังการบริหารจัดการน้ำ
ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา
“นโยบายการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ จากการจราจรในเมืองใหญ่”
Facilitator: Pawin Puapornpong
โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis).
ระบาดวิทยาโรคไม่ติดต่อ
การวิเคราะห์ข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
พระราชปณิธานสมเด็จย่า ต้านภัยมะเร็งเต้านม
ข้อมูลทะเบียนมะเร็ง กฤติกา สุวรรณรุ่งเรือง
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 และ แผนงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2561
วิธีปฏิบัติทางบัญชี 1. การรับบริจาคเงินสด
Burden of disease measurement
การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
จังหวัด .นครสวรรค์, กำแพงเพชร,พิจิตร, อุทัยธานี, ชัยนาท
ณ ห้องประชุม 6/5 รพ.นครพิงค์
Facilitator: Pawin puapornpong
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร
ภาษีเกี่ยวกับการค้าทองคำ
Service Plan สาขาแม่และเด็ก
Colon Cancer มะเร็งลำไส้.
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
การพิจารณากลุ่มเลข และเอกสาร หลักฐานที่ใช้ประกอบการ ลงทะเบียนในกองทุน
การวัดทางระบาดและดัชนีอนามัย
โครงการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ภายใต้พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ ระหว่างวันที่ พฤศจิกายน 2560 ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค.
การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ หลักสูตร นายทหารฝ่ายการส่งกำลังบำรุง (ฝอ.๔) ณ รร.กบ.ทบ. ๕ มิ.ย. ๖๐.
การควบคุมภายในตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔
การกระจายของโรคในชุมชน
การประเมินส่วนราชการ
วันที่พุธที่ 7 พฤศจิกายน 2561 เวลา – น.
แนวทางเข้าสู่ตำแหน่ง ระดับเชี่ยวชาญ-ทรงคุณวุฒิ
รายงานการประเมินตนเอง
สิทธิรับรู้ของประชาชน
สรุปผลงาน การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปี จังหวัดเชียงใหม่
ระบบการปลูกพืช และการส่งเสริมอาชีพในพื้นที่ลุ่มต่ำ
จรรยาบรรณ ของ ผู้สอบบัญชีสหกรณ์.
รูปแบบการศึกษา ทางระบาดวิทยา
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6.
วัคซีนป้องกันเอชพีวี
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : การรักษาความปลอดภัยข้อมูล Part1 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
พระพุทธศาสนา.
อาจารย์ ศิริรัตน์ หวังดี
ระบบข้อมูลของโครงการสืบสานพระราชปณิธานต้านมะเร็งเต้านม
ระบบจำนวนจริง ข้อสอบ O-net
พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior)
การทำงาน MSM-TG สำคัญอย่างไร มุมมองทั่วไปและด้านระบาด สาธารณสุข
บทที่ 2 การเริ่มต้นกิจการใหม่และการซื้อกิจการ
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
การลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น
ผังทางเดินเอกสาร – ระบบส่งคืนสินค้า
บทที่ 10 รายงานการเงินสำหรับกิจการที่ไม่หวังผลกำไร
ประเด็นความเสี่ยงของสำนักงาน ปี ๒๕๕๕
อ.พรพนา ปัญญาสุข วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย
การผ่าตัดเสริมซิลิโคน
เงินสดและการควบคุมเงินสด
ผู้อำนวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน/สำนักงาน ป.ป.ท.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย สตรีและเด็กปฐมวัย 0-5 ปี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเสริมหน้าอกด้วยซิลิโคน และ
ขอชื่นชมอาจารย์ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ที่มีผลงานวิชาการ นำเสนอในเวทีระดับชาติ และตีพิมพ์ในวารสาร TCI ประจำปี พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม พญ. อารีวรรณ สมหวังประเสริฐ ภาควิชาศัลยศาสตร์ รพ.มหาราชนครเชียงใหม่

Age-specific incidence rates of breast cancer, 2008 เต้านม

ผู้หญิงที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป ควรเริ่มตรวจเต้านมด้วยตนเองเดือนละครั้ง และควรจะต้อง ได้รับการบอกถึงประโยชน์ และ ข้อจำกัดของการตรวจเต้านม ด้วยตนเอง รวมทั้งได้รับการสอนการตรวจเต้านมด้วยตนเองที่ ถูกวิธี หากมีอาการที่สงสัยควรมีการตรวจโดยแพทย์หรือบุคลากรทาง การแพทย์ที่ได้รับการฝึกอบรม

ผู้หญิงที่มีอายุ 40 - 69 ปี และไม่มีอาการ นอกจากการตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำแล้ว ควรได้รับการตรวจโดยแพทย์ หรือบุคลากรทางการแพทย์ที่ได้รับการฝึกอบรม ทุก 1 ปี ผู้หญิงที่อายุ 70 ปีขึ้นไป การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมในผู้หญิงกลุ่มนี้ให้พิจารณาเป็นรายบุคคล โดยพิจารณาถึงประโยชน์และอัตราการเสี่ยงของการตรวจด้วยเครื่องถ่ายภาพรังสีเต้านมในเรื่องของสภาวะสุขภาพในขณะนั้น และคำนึงระยะเวลาที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไป

แนวทางการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข วิธีการตรวจคัดกรองเพื่อค้นหามะเร็งเต้านม มีอยู่ 3 วิธี ได้แก่ 1. การตรวจเต้านมด้วยตนเอง 2. การตรวจเต้านมโดยแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์ที่ได้รับการ ฝึกอบรม 3. การตรวจด้วยเครื่องถ่ายภาพรังสีเต้านม--แมมโมแกรม

ถึงแม้ว่า จะมีการศึกษาว่า การตรวจเต้านมด้วยตนเองไม่ได้มีผล ต่อการลดอัตราตาย แต่ก็ถือว่าเป็นวิธีการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมที่ประหยัดที่ เหมาะสมสำหรับประเทศไทย และเป็นการสร้างความตระหนัก ให้กับผู้หญิงไทยให้มีความสนใจกับสุขภาพของตนเอง

การตรวจเต้านมด้วยตนเอง   การตรวจเต้านมด้วยตนเอง (Breast Self Examination) ถือเป็นสิ่งแรกที่จะช่วยให้ผู้หญิงทุกคนป้องกันตนเองจากมะเร็งเต้านม การตรวจเต้านมด้วยตนเอง เพื่อให้รู้สึกถึงธรรมชาติของเต้านม และเมื่อมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้น ก็จะสามารถสังเกตได้ด้วยตนเอง โดยควรเริ่มตรวจตั้งแต่อายุ 20 ปีขึ้นไป โดยตรวจเดือนละครั้ง เวลาที่เหมาะสม คือ วันที่ประจำเดือนหมด (วันสุดท้าย หรือวันรุ่งขึ้น) เนื่องจากเป็นช่วงที่เต้านมอ่อนตัว หรือนิ่มลง

ขั้นตอนและวิธีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ 1. การดู 2. การคลำ 80 – 90% ของมะเร็งเป็นก้อน ดังนั้น การคลำจึงเป็นสิ่งที่สำคัญ การคลำไม่ใช่คลำเพื่อหาก้อน แต่ให้รู้สึกถึงธรรมชาติของเต้านมของเรา เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงจะสังเกต และรู้สึกได้ง่าย

ดู ปล่อยแขนแนบข้างลำตัวตามสบาย เปรียบเทียบเต้านมทั้ง 2 ข้างว่ามีความผิดปกติ ของเต้านมหรือไม่ เช่น สีผิว รอยบุ๋ม รอยแผล หัวนมบุ๋มหรือบิดเบี้ยว ยกมือขึ้นทั้ง 2 ข้างเหนือศีรษะ แล้วกลับมาอยู่ใน ท่าท้าวสะเอว พร้อมทั้งดูสิ่งที่ผิดปกติ โน้มตัวมาข้างหน้าโดยใช้มือท้าวสะเอว เกร็ง กล้ามเนื้อหน้าอก สังเกตว่าเต้านมห้อยลง อยู่ใน ลักษณะเดียวกันหรือมีการดึงรั้งของผิวเต้านม หรือไม่

การคลำ --บริเวณที่จะต้องคลำ เริ่มจาก ใต้แขน ถึงบริเวณขอบเสื้อชั้นในด้านล่าง ใต้แขนข้ามมาถึงกระดูกกลาง ขึ้นไปถึงบริเวณไหปลาร้า กลับมายังรักแร้

3 นิ้วที่ใช้สัมผัส ใช้บริเวณกึ่งกลางนิ้วส่วนบนทั้งสาม นิ้ว (นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง) บริเวณกึ่งกลางนิ้วส่วนบนดังกล่าว จะ สัมผัสได้ดีกว่า และมีจุดสัมผัสได้กว้าง กว่าส่วนปลายนิ้ว โค้งฝ่ามือเพื่อปรับให้นิ้วทั้งสามอยู่ใน สภาพแบนราบ เคลื่อนนิ้ววนเป็นวงกลมเท่าเหรียญ บาทในบริเวณที่จะต้องคลำอย่าง ทั่วถึง

วิธีการกด 3 ระดับ 2.กดปานกลาง เพื่อให้รู้สึกถึงกึ่งกลางของเต้านม 1. กดเบา ๆ เพื่อให้รู้สึกถึงบริเวณใต้ผิวหนัง 2.กดปานกลาง เพื่อให้รู้สึกถึงกึ่งกลางของเต้านม 3.กดหนักขึ้น เพื่อให้รู้สึกถึงส่วนลึกใกล้ผนังปอด

ให้ใช้นิ้ว 3 นิ้ว คือ นิ้วชี้ นิ้วกลาง และ นิ้วนาง วางชิดเสมอกัน กด คลำให้ทั่วทั้งเต้านมและรักแร้ใน ลักษณะวนเป็นก้นหอยเล็กๆ หรืออาจจะใช้วิธีการคลำเป็น รัศมีวงกลม วนออกจากหัวนม จนทั่วทั้งเต้านม เพื่อตรวจดูว่ามี ก้อนผิดปกติหรือไม่

แนวการการคลำ การคลำในแนวก้นหอย โดยเริ่ม จากส่วนบนไปตามแนวก้นหอย จนกระทั่งถึงฐานเต้านมบริเวณรักแร้ การคลำในแนวรูปลิ่ม เริ่มจาก ส่วนบนของเต้านมจนถึงฐานแล้ว กลับสู่ยอดอย่างนี้ไปเรื่อยๆให้ทั่วทั้ง เต้านม

ขณะอาบน้ำ ก็สามารถตรวจเต้านมได้ง่าย โดยใช้สบู่ช่วย สบู่จะทำให้ลื่น และคลำเต้า นมได้ง่ายขึ้น

ก้อนเต้านม

ก้อนเต้านม หัวนมถูกรั้งเข้าด้านใน

หัวนมแตกเป็นแผล

เต้านมบวมแดงอักเสบ ผิวหนังคล้ายผิวส้ม

ก้อนขนาดใหญ่มากกกกกกกกกก

รอยดึงรั้งที่ผิวหนัง

เลือดออกที่หัวนม

เครื่องตรวจเต้านม (แมมโมแกรม)

การทำแมมโมแกรม การตรวจแมมโมแกรมเพื่อตรวจค้น เริ่มเมื่อมีอายุ40 ปีขึ้นไป

ก้อนมะเร็งเต้านม

กลุ่มเสี่ยง (high risk) ผู้หญิงกลุ่มนี้ควรได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเหมือนกับกลุ่ม ผู้หญิงทั่วไปแต่ควรจะต้องเริ่มตรวจเร็วขึ้น เช่น ในกรณีที่มีญาติสาย ตรงเป็นมะเร็งเต้านมที่อายุน้อยกว่า 40 ปี ควรทำการตรวจคัด กรอง เมื่ออายุที่ญาติเป็นมะเร็งเต้านมลบออกอีก 5 ปี และควร ตรวจทุก 1 ปี

กลุ่มเสี่ยง (high risk) มีประวัติญาติสายตรง ได้แก่ มารดา พี่สาว/น้องสาว และบุตร เป็นมะเร็งเต้า นม หรือมะเร็งที่รังไข่ ผู้ที่มีประวัติเป็นมะเร็งเต้านมแล้วหนึ่งข้าง ผู้ที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายแสงบริเวณหน้าอก ได้แก่ ผู้ที่เป็นโรคมะเร็ง ต่อมน้ำเหลือง ผู้ที่มีประวัติเคยตัดก้อนเต้านม แล้วมีผลเป็นเซลล์ที่เริ่มผิดปกติ atypical duct hyperplasia ผู้ที่ได้รับประทานฮอร์โมนเสริมทดแทนวัยหมดประจำเดือนเป็นประจำเกิน 5 ปี ผู้ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป

Don’t know the real causes---xxป้องกันxx Less exposure to estrogen ออกกำลังกาย ลดความเครียด งด alcohol อย่าอ้วน (post menopause obesity) การป้องกัน: หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง และ เพิ่มปัจจัยป้องกัน(อาจลดความเสี่ยงการเกิดมะเร็งเต้านม)

มะเร็งเต้านมรักษาให้หายได้ ถ้าไปพบแพทย์ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก