การจำลองสถานการณ์การตกของดินสอ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจำลองสถานการณ์การตกของดินสอ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 05/04/62 1 การจำลองสถานการณ์การตกของดินสอ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดย Rod Cross ผู้นำเสนอ นางสาวสาธิยา รัตนา

Outline วัตถุประสงค์ บทนำ ทฤษฎี วิธีทดลอง 2 Outline วัตถุประสงค์ บทนำ ทฤษฎี วิธีทดลอง ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง สรุป แหล่งอ้างอิง

3 วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการล้มลงของดินสอจากการจำลองสถานการณ์โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์

4 บทนำ ปัจจุบันความก้าวหน้าของเทคโนโลยี สามารถพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้อธิบายเหตุการณ์ต่างๆที่มีอยู่ในชีวิตประจำวันได้มากขึ้น ในที่นี้จะใช้การจำลองสถานการณ์โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์วิเคราะห์การล้มลงของดินสอ

ทฤษฎี 5 ศึกษาการเคลื่อนที่ของดินสอที่ปล่อยจากมุมต่างๆ 𝜃= 𝜃 0 ( 𝑒 𝜔 0 𝑡 - 𝑒 −𝜔 0 𝑡 ) และศึกษาทิศทางการเคลื่อนที่ของดินสอจาก F = MH 𝜔 0 2 sin 𝜃 (3 cos 𝜃 − 2 cos 𝜃 0 ) และ N =MG - MH 𝜔 0 2 (1+2 cos 𝜃 cos 𝜃 0 -3 cos 2 𝜃) เมื่อ F =𝜇N

6 วิธีทดลอง วิธีทดลองได้มีการจำลองสถานการณ์ (Simulation) โดยการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software) เข้ามาช่วย เพื่อที่จะศึกษาการเคลื่อนที่ของดินสอ โดยมีการเก็บข้อมูล และทำการวิเคราะห์หาสมการที่ถูกต้องจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รูปที่1 แสดงการล้มของดินสอ ที่ปลายด้านล่างไม่ได้ยึดติดกับโต๊ะมีอิสระที่จะไถลไปข้างหน้าหรือข้างหลัง

ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง 7 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง จากกราฟแสดงให้เห็นว่า มุม 𝜃 มีการ เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ของพื้นผิวที่มี 𝜇=0.15และ 𝜇=0.5 จะเห็นว่าดินสอที่วางอยู่บนพื้นที่มี 𝜇 น้อยจะเอียงด้วยมุมที่มากกว่า และที่ 𝜇 มากจะเอียงด้วยมุมที่น้อยกว่า เช่น ที่ 0.5 วินาที 𝜇(0.15)จะเบนด้วย มุมประมาณ45องศา และ 𝜇(0.5)จะเบน ด้วยมุมประมาณ 40 องศา

ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง 8 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง จากกราฟจะเห็นได้ว่า เมื่อเริ่มปล่อย ดินสอแรง N จะลดลงเรื่อยๆเกือบจะ เป็นศูนย์และเพิ่มขึ้นอีกเล็กน้อยเมื่อ ดินสอใกล้จะล้มลงถึงโต๊ะ แต่แรง F จะค่อยๆเพิ่มขึ้นค่อนข้าง แตกต่างจากแรง Nเมื่อเริ่มปล่อยดินสอ และลดลงเมื่อดินสอใกล้จะล้มลงถึง โต๊ะ กราฟ แสดงแรง FกับNเทียบกับเวลา

ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง 9 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง จะเห็นได้ว่า ถ้าค่า 𝜇<0.37 จะทำให้ปลาย ด้านล่างของดินสอที่ติดกับโต๊ะไถลไป ข้างหลังก่อนตอนเริ่มปล่อยดินสอและ จะไถลมาข้างหน้าอีกเพียงเล็กน้อยเมื่อ ดินสอใกล้จะล้มลงถึงโต๊ะ และถ้าค่า 𝜇>0.37 จะทำให้ปลาย ด้านล่างของดินสอที่ติดกับโต๊ะไถลไป ข้างหน้า กราฟ แสดงการกระจัดของดินสอเทียบกับเวลา

10 สรุปผลการทดลอง จากผลการทดลองสรุปได้ว่า ขนาดและทิศทางของการเคลื่อนที่ ของดินสอขึ้นอยู่กับค่ามุมเริ่มต้นของการปล่อย 𝜃 0 และค่า สัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน 𝜇 และมุมเริ่มต้นของการปล่อยที่ทำให้ ดินสอตกเร็วกว่าค่า g มาตรฐานคือมุมที่มีค่า 𝜃 0 >42.1 องศา

11 แหล่งอ้างอิง Rod Cross. (2006). The fall and bounce of pencils and other elongated objects. American Journal of Physics,74,26-30.