ครอบครัว กับการคืนสู่สุขภาวะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การบันทึกข้อมูล 43 แฟ้มบน Hospital OS
Advertisements

การจัดการเว็บไซต์คลังความรู้
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
สำนักงานสิ่งแวดล้อม ภาคที่ 10 พื้นที่รับผิดชอบ : ลุ่มน้ำชีตอนบน 5 จังหวัด ; กาฬสินธุ์ ชัยภูมิ ขอนแก่น มหาสารคาม หนองบัวลำภู - พื้นที่ 39,761 ตร. กม.
วิธีการแก้ไขและเพิ่มเติมข้อมูลด้านขนาดสินค้า ในระบบ Seller Center
การบรรยาย เรื่อง “นโยบายการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาสู่การปฏิบัติ” โดย นางวราภรณ์ สีหนาท วันที่
แรงในชีวิตประจำวัน.
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
มอบนโยบายการเปลี่ยนแปลงที่ท้าทาย โดย นายอาทิตย์ วุฒิคะโร
บทบาท Peer กับการคือสู่สุขภาวะ
องค์กรนวัตกรรม ROYAL VETERINARY COLLEGE UNIVERSITY OF LONDON
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสงขลา
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
ภาพรวมของ รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศอ5
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
1.โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนอีสานศตวรรษที่ 21 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
แผนกลยุทธ์ กรมชลประทาน
ฝ่ายกิจกรรม ปีการศึกษา 2560
การพัฒนาระบบ การวินิจฉัยโรคจากการทำงาน รพ.ระยอง
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
ทิศทางการบริหารจัดการยุทธศาสตร์งานอนามัยสิ่งแวดล้อม
แนวทางการทำงานของ “วิทยากรแกนนำเน็ตประชารัฐ”
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
การดำเนินงาน คลินิกหมอครอบครัว
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
Note เรียน คณะกรรมการทีมระบบ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
UNDO ข้าราชการ ผู้รับบำนาญ ผู้รับเบี้ยหวัด
หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
มอบนโยบายการเปลี่ยนแปลงที่ท้าทาย โดย นายอาทิตย์ วุฒิคะโร
ระบบการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์
นโยบายสำคัญ ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินงานที่เป็นคำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้ตรวจราชการในปี 2561 มี 12 ประเด็นคือ 1. District Health.
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดชัยภูมิ
การบริหารสัญญา และหลักประกัน.
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
นโยบายการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค
ตัวชี้วัด (KPI EPI Template))
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดสระแก้ว
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
บทบาทของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ในการสนับสนุนการจัดบริการอาชีวอนามัย
ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
กลุ่มงาน ส่งเสริม ควบคุมโรค โรคไม่ติดต่อ ทันตฯ
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 รอบที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดสุรินทร์
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสาธารณสุข ๑๐๐ ปี หมออนามัยห่วงใยประชาชน สร้างชุมชนปลอดขยะ ร่วมขจัดภัยไข้เลือดออกและไข้มาลาเรีย ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑.
ศูนย์ช่วยเหลือ SMEs (SME Rescue Center)
กองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย
หัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข
การประชุม พบส.ทันตสาธารณสุข
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
โดย การอภิปราย “แนวทางการปฏิบัติงานในการพิจารณาอนุญาตฯ (รง.4)”
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
พระธาตุนาดูนศูนย์รวมจิตใจ น้ำดูนใสศักดิ์สิทธิ์ วิจิตรสวนวลัยรุกขเวช
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สำนักงานทะเบียนเครื่องจักรกลาง
ระบบจับบัตรคิวออนไลน์ Smart Hospital 4.0 โรงพยาบาลชัยนาทนเรนทร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ครอบครัว กับการคืนสู่สุขภาวะ Excellence Center : SRITHANYA HOSPITAL แพทย์หญิงสมรัก ชูวานิชวงศ์

แบบฝึกหัด -เขียนชื่อผู้ป่วยของท่าน 2 รายที่กำลังจะจำหน่าย -เมื่อผู้ป่วยกลับไปอยู่ที่บ้าน ท่านคิดว่าคนในครอบครัวจะพบกับปัญหาอะไรบ้าง -และปัญหาที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอีกในอนาคต -ในฐานะที่เป็นบุคลากรที่ดูแลผู้ป่วยรายนี้ ท่านคิดว่าจะสามาราถช่วยครอบครัวได้อย่างไรบ้าง? -คนในทีมสามารถช่วยอะไรได้อีกบ้าง?

The Family a “ Caring Agent” ครอบครัว คือ ผู้ห่วงใยใส่ใจดูแลผู้ป่วย

ภาระและตราบาป ที่ครอบครัวเผชิญ ภาระที่มองเห็น , ประเมินได้ ภาระที่รู้สึกรับรู้ ประเมินมิได้ ผลกระทบต่อ พ่อ – แม่ , คู่ครอง ,ลูก , พี่ , น้อง ,ชุมชน

ระยะต่าง ๆ ที่ครอบครัวผู้ป่วยดำเนินผ่าน การตระหนักรู้เบื้องต้นว่ามีปัญหาสังเกตเห็นอาการเริ่มแรก และพฤติกรรมที่ผิดปกติแต่มักคิดว่าเดี๋ยวก็หาย ปฏิเสธการป่วยเป็นโรคจิตเวช มักจะคิดว่าอาการนี้คงเป็นแค่ชั่วคราว เครียด หรือเกิดจากยาเสพติด แสวงหาการหายขาด “ เอาลูกของฉันกลับมา” ยอมรับว่าเป็นโรคจิตเวชได้แต่ผิดหวัง ยอมรับว่าเป็นโรคจิตเวชได้แต่ผิดหวังกับการรักษาที่ได้รับอย่างจำกัด

5.ไม่สบายใจ เศร้า กังวล โกรธ คล้ายกับได้สูญเสียผู้ที่เป็นที่รัก แต่ไม่ใช่มีการเสียชีวิต แต่คนที่อยู่ก็ไม่ใช่คนเดิม 6.เป็นผู้มีความรู้เรื่องโรคจิตเวช 7.เป็นปากเป็นเสียงให้ผู้ป่วยได้รับการรักษา และการฟื้นฟูที่ดีกว่าเดิม 8.เดี๋ยวดีเดี๋ยวแย่แปรไปตามผลการรักษา 9.สั่งสมวิธีการรับมือกับโรคหลาย ๆ ทาง 10.เข้าร่วมกลุ่มช่วยเหลือกันเอง เป็นปากเป็นเสียงเพื่อการรักษาที่ดีขึ้น ร่วมต่อสู้กับตราบาป ช่วยคนอื่นปรับตัวได้และให้ก้าวผ่านระยะต่าง ๆ ของโรคเรื้อรัง และความพิการ

แนวทางการทำงานกับครอบครัว 1.ประสานเรื่องการรักษาและการฟื้นฟู 2.ให้ความสนใจในความต้องการจำเป็นของผู้ป่วย 3.ดูแลจัดการเรื่องยาที่เหมาะสม 4.รับฟังสิ่งที่ครอบครัวกังวลห่วงใย 5.สำรวจความคาดหวังของครอบครัว เกี่ยวกับโปรแกรมการรักษาและความคาดหวังต่อคนไข้ 6.ประเมินจุดแข็งและข้อจำกัดเกี่ยวกับความสามารถของครอบครัว ในการสนับสนุนผู้ป่วย

7. ช่วยในการแก้ไขความขัดแย้งด้วยความเข้าอกเข้าใจในความทุกข์ใจ 8 7.ช่วยในการแก้ไขความขัดแย้งด้วยความเข้าอกเข้าใจในความทุกข์ใจ 8.ให้รู้ถึงความรู้สึกสูญเสีย 9.ให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยและครอบครัวในเวลาที่เหมาะสม 10.มอบแผนในการจัดการกับวิกฤตและการตอบสนองของนักวิชาชีพ 11.ช่วยเหลือให้สมาชิกครอบครัวสื่อสารกันได้ดีขึ้น

12. จัดการฝึกอบรมเรื่องการจัดการแก้ไขปัญหาให้ครอบครัว 13 12. จัดการฝึกอบรมเรื่องการจัดการแก้ไขปัญหาให้ครอบครัว 13. ส่งเสริมให้สมาชิกครอบครัวมีเครือข่ายทางสังคมกว้างขึ้น และให้เข้าร่วมกันในชมรมองค์กรของครอบครัวผู้ป่วย 14. ให้ยืดหยุ่นในการช่วยครอบครัวให้ได้รับตามความ ต้องการจำเป็นและไวต่อความแตกต่างด้านวัฒนธรรม และ เชื้อชาติ กลุ่มชน 15. เอื้ออำนวยให้ครอบครัวเข้าถึงบุคลากรวิชาชีพคนอื่น เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ความสัมพันธ์ในการรักษาเสียไป

ทักษะด้านต่างๆ ในการนำครอบครัว เข้ามาร่วมในบริการดูแลรักษาผู้ป่วย 1. พัฒนาการทำงานร่วมกันกับครอบครัว 2. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรคทางจิตเวช 3. เสริมสร้างการสื่อสาร และการแก้ไขปัญหาให้ ครอบครัว 4. ช่วยครอบครัวให้เข้าถึงและใช้บริการในระบบสุขภาพ 5. ช่วยครอบครัวให้เข้าถึงความต้องการจำเป็นของคน 6. ช่วยครอบครัวในการรับมือกับลักษณะพิเศษของคนไข้ 7. จัดการเรื่องความลับของผู้ป่วย และความแตกต่าง หลากหลายทางวัฒนธรรม

ทักษะที่สำคัญในการสื่อสาร 1. การให้คำแนะนำ และบอกกล่าวด้วยถ้อยคำที่น่าฟัง 2. การชื่นชมเมื่อผู้อื่นทำดี 3. การบอกความต้องการ 4. การรับฟังอย่างใส่ใจ และตอบสนองด้วยความเข้าใจ 5. แสดงความไม่พอใจในทางสร้างสรรค์ 6. หาเวลานอกเพื่อสงบสติอารมณ์

ทักษะการแก้ไขปัญหา 7 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 หยุดคิด ! เมื่อเผชิญหน้ากับสิ่งที่ไม่รู้ว่าจะทำอย่างไร ขั้นที่ 2 หาว่าปัญหาคืออะไร ? โดยพยายามใช้การสื่อสารที่ดีต่อกัน ขั้นที่ 3 รวบรวมวิธีการที่เป็นไปได้ทั้งหมดที่จะนำอุปสรรคออกไป หรือที่จะไปสู่เป้าหมายได้ โดยห้ามตัดสินหรือวิจารณ์ 1…………………………………..2……………………………. 3.………………………………….4.…………………………… 5.………………………………….6.…………………………….

ทักษะการแก้ไขปัญหา 7 ขั้นตอน (ต่อ) ขั้นที่ 4 ประเมินทางเลือกแต่ละทางใน ขั้นที่ 3 เป็นประโยชน์ ไม่เป็นประโยชน์ 1. 2. 3. 4. 5. 6. เป็นประโยชน์ ไม่เป็นประโยชน์ 1. 2. 3. 4. 5. 6. ขั้นที่ 5 เลือกทางเลือกหนึ่งทางหรือมากกว่า ที่น่าจะทำได้สะดวก และ จะสำเร็จ โดยให้ได้รับความเห็นชอบร่วมกันในครอบครัว (ใช้การสื่อสารที่ดี) จดทางเลือกที่ครอบครัวเห็นชอบร่วมกัน...................................................................

อภิปราย โอกาสที่ครอบครัวของผู้ป่วยจะได้รับบริการช่วยเหลือ สนับสนุน ส่งเสริม และความเป็นไปได้ ท่านสามารถทำอะไรได้บ้าง? ทางออกของส่วนที่เหลือ?