การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา โดย นายบุญถิ่น เดชสูงเนิน หัวหน้าฝ่ายยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สำนักงานเกษตรจังหวัดนครราชสีมา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การถ่ายโอนภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา โดย นายบุญถิ่น เดชสูงเนิน หัวหน้าฝ่ายยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สำนักงานเกษตรจังหวัดนครราชสีมา

คณะกรรมการศูนย์ฯ กลุ่มแปรรูป กลุ่ม..(อื่นๆ)..... กลุ่มข้าว กลุ่มเลี้ยงสุกร คณะกรรมการศูนย์ฯ กลุ่มผลิตผักฯ กลุ่มเลี้ยงปลา

ความเป็นมาของการประชุมสัมมนา แผนปฏิบัติการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น (อปท.) ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 119 ตอนพิเศษ 23 ง วันที่ 13 มีนาคม 2545 (ตามรัฐธรรมนูญการปกครองแห่งพระราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540) มีผลผูกพันให้ส่วนราชการ 50 กรม 14 กระทรวง (เดิม) ต้องถ่ายโอนภารกิจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 245 ภารกิจ

ปี 2546 จังหวัดนครราชสีมา ได้ดำเนินการดังนี้ ปี 2546 จังหวัดนครราชสีมา ได้ดำเนินการดังนี้ จัดประชุมชี้แจง เจ้าหน้าที่เกษตร และเจ้าหน้าที่ของ อบต. จากนั้นมอบหมายให้ดำเนินการถ่ายโอนภารกิจ จากนั้น มีการปรับเปลี่ยนผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด ไม่มีการติดตามความก้าวหน้า

กรมส่งเสริมการเกษตร เร่งรัดเรื่องการถ่ายโอนภารกิจ ปี 2548 กรมส่งเสริมการเกษตร เร่งรัดเรื่องการถ่ายโอนภารกิจ จังหวัดนครราชสีมา มีการเปลี่ยนผู้รับผิดชอบระดับจังหวัดอีกครั้ง

อปท. - ท้องถิ่นจังหวัด - ท้องถิ่นอำเภอทุกอำเภอ -นายก อบต. ทุก อบต. เริ่มตั้งต้นการถ่ายโอนภารกิจกรมส่งเสริมการเกษตร ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใหม่ อีกครั้ง จัดประชุมชี้แจง กษอ.ทุก อำเภอ อปท. - ท้องถิ่นจังหวัด - ท้องถิ่นอำเภอทุกอำเภอ -นายก อบต. ทุก อบต. ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นพยาน จนท. ผู้รับผิดชอบ

สำนักงานเกษตรจังหวัดนครราชสีมา จัดประชุมสัมมนา

สำนักงานเกษตรจังหวัดนครราชสีมา จัดประชุมสัมมนา พิธีลงนามส่งมอบ เกษตรจังหวัดส่งมอบภารกิจกรมส่งเสริมการเกษตรให้ท้องถิ่นจังหวัด โดยมีรองผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นพยาน

ภารกิจที่อำเภอรับไปดำเนินการต่อ อำเภอประชุมชี้แจงและวางแผนการถ่ายโอนภารกิจให้ อปท. อำเภอโดยนายอำเภอ (รับมอบอำนาจจาก อธส.) ส่งมอบภารกิจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (นายก อปท.รับมอบ) โดยมีปลัด อปท. และท้องถิ่นอำเภอเป็นพยาน สำนักงานเกษตรอำเภอส่งมอบงาน เอกสารและอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องให้ อปท. พร้อมทั้งถ่ายทอดระบบและวิธีปฏิบัติให้กับ อปท. สำนักงานเกษตรอำเภอและ อปท. จัดประชุมปรึกษาหารือและกำหนดแผนดำเนินงานร่วมกัน เพื่อให้ภารกิจที่ถ่ายโอนเกิดประโยชน์ต่อประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ สำนักงานเกษตรอำเภอจะต้องสนับสนุน ร่วมปฏิบัติและเป็น พี่เลี้ยงให้ อปท. ในการปฏิบัติตามภารกิจที่ถ่ายโอนไปแล้ว สำนักงานเกษตรจังหวัด ให้การสนับสนุนทุกขั้นตอน

เกษตรอำเภอ ดำเนินการขั้นตอน ดังนี้ จัดประชุมชี้แจง เจ้าหน้าที่ทุกคน นายก อบต. ปลัด อบต. เจ้าหน้าที่ อบต. นายอำเภอ เป็นพยาน คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ

การถ่ายโอนภารกิจ นายอำเภอ ผู้ส่งมอบ ในนามผู้แทน กสส. นายก อบต ผู้รับมอบ ใน นาม อปท. ท้องถิ่นอำเภอ + กษอ. + ปลัด อบต. พยาน

ภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตรที่จะถ่ายโอน 1. การสำรวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร 2. การจัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบล 3. การบริการข้อมูลและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 4. การรวบรวมส่งเสริมพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น 5. การช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติ (อยู่ระหว่างแก้ไขกฎหมาย) 6. การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช 7. การฝึกอบรมอาชีพ 8. การรวมกลุ่มและพัฒนากลุ่ม 9. การกระจายพันธุ์ 10. ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล 11. การปรับปรุงฟื้นฟูอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ)

ผลการถ่ายโอนภารกิจ ของจังหวัดนครราชสีมา จำนวน อบต. ทั้งหมด 286 ตำบล ถ่ายโอนภารกิจ เรียบร้อยแล้ว จำนวน 280 ตำบล

ปัญหาอุปสรรค ของการถ่ายโอนภารกิจ เกษตรอำเภอไม่เข้าใจในเรื่องการถ่ายโอนภารกิจ นายอำเภอ หรือ ปลัดอำเภอไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ เกษตรอำเภอกับนายอำเภอหรือปลัดอำเภอฯขัดแย้งกัน นายก อบต. มีการปรับเปลี่ยนปล่อย ๆ ปลัด อบต. ไม่เข้าใจบทบาทหน้าที่ของ จนท. เกษตร

แนวทางแก้ไขของจังหวัดนครราชสีมา ชี้แจงทำความเข้าใจ กับ กษอ. แบบตัว ต่อ ตัว ประสานงานกับท้องถิ่นจังหวัด หรือผู้รับผิดชอบ ช่วยชี้แจงทำความเข้าใจทั้งวาจาและเอกสาร เน้นย้ำเจ้าหน้าที่เกษตร เรื่องการทำงานแบบบูรณาการ การประสานงานแบบมีส่วนร่วมให้มากขึ้น เพื่อใช้ความรัก ความผูกพัน ช่วยให้การทำงานง่ายขึ้น

เน้นย้ำการถ่ายโอนศูนย์บริการ ฯ ศูนย์บริการและถ่ายทอดฯ พด. ปศุสัตว์ หน่วยงานรัฐ กสส. ประมง อื่นๆ องค์กรเอกชน องค์กรท้องถิ่น ศูนย์บริการและถ่ายทอดฯ ชุมชน/เกษตรกร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

ความพร้อม/องค์ประกอบศูนย์ สำนักงาน และข้อมูล คณะกรรมการบริหารศูนย์ แผนพัฒนาการเกษตร จุดสาธิตและถ่ายทอดเทคโนโลยี 5. เกษตรกร

ศูนย์บริการฯเป็นกลไกหลัก ภารกิจอื่นๆจะอยู่ภายใต้ศูนย์บริการ ศูนย์บริการฯเป็นกลไกหลัก ภารกิจอื่นๆจะอยู่ภายใต้ศูนย์บริการ บทบาทสำคัญคือบูรณาการงานพัฒนาการเกษตรทุกเรื่อง ระหว่างรัฐ กับ รัฐ ระหว่างรัฐ กับท้องถิ่น/ชุมชน การสำรวจข้อมูล (ภารกิจที่ 1) มีแผนของชุมชน (ภารกิจที่ 2) มีระบบการเชื่อมโยง/สนับสนุน การบริการเผยแพร่ข้อมูล (ภารกิจที่ 3) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

ศูนย์บริการฯเป็นกลไกหลัก ภารกิจอื่นๆจะอยู่ภายใต้ศูนย์บริการ (ต่อ) ศูนย์บริการฯเป็นกลไกหลัก ภารกิจอื่นๆจะอยู่ภายใต้ศูนย์บริการ (ต่อ) การรวบรวมส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น (ภารกิจที่ 4) การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช (ภารกิจที่ 6) การฝึกอบรมอาชีพ (ภารกิจที่ 7) การวมกลุ่มและพัฒนากลุ่ม (ภารกิจที่ 8) การกระจายพันธุ์ (ภารกิจที่ 9) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

การบริหารจัดการศูนย์ฯ ให้ถือเป็นเรื่องสำคัญ เกษตรกรมาติดต่อจะพบใคร (เจ้าหน้าที่/เกษตรกร อาสาสมัคร/กรรมการศูนย์ฯ... ใครประจำศูนย์)

สิ่งอำนวยความสะดวกตามความจำเป็นมีอะไรบ้าง ทำได้อย่างไร คำขอรับบริการ ตู้รับฟังความคิดเห็น ระบบการติดตามผล (เกษตรกรจะติดตามผลที่ไหน) ช่องทางการติดต่อประสานงาน

ศูนย์บริการฯ ที่ดี จะต้องมี ผู้รับผิดชอบศูนย์ฯ มีความมั่นใจและเชื่อมโยงการทำงานได้ มีกรรมการศูนย์ฯ ที่มีความรู้สึกภูมิใจและถือว่าตัวเองเป็น ส่วน หนึ่ง ของศูนย์บริการฯ มีเกษตรกรรู้จักศูนย์ และรู้ว่าศูนย์มีบทบาทอย่างไร มีเกษตรกรมาร่วมกิจกรรมที่ศูนย์ฯ มีองค์กรปกครองท้องถิ่น เข้ามามีบทบาทและ ให้การสนับสนุนเต็มที่ มีข้าราชการ นักการเมือง มองภาพศูนย์ฯ ในเชิงบวก “ศูนย์ฯ ถือเป็นองค์กรที่ประกอบด้วยมวลชนจำนวนมากและเป็นขุมกำลังที่ยิ่งใหญ่ของกรมฯ” กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล

จุดเน้น กรรมการมีความพร้อม เข้าใจในบทบาทหน้าที่ และจัดการดี ศูนย์บริการฯ ต้องเปิดทุกศูนย์ กรรมการมีความพร้อม เข้าใจในบทบาทหน้าที่ และจัดการดี มีใจให้กับศูนย์บริการฯ

ผังภารกิจกรมส่งเสริมการเกษตรภายใต้ศูนย์บริการ ฯ การรวมกลุ่ม และพัฒนากลุ่ม (ภารกิจที่ 8) ข้อมูล การเกษตร (ภารกิจที่ 1) แผนพัฒนา การเกษตร (ภารกิจที่ 2) การบริการและ เผยแพร่ข้อมูล (ภารกิจที่3) การสำรวจ ช่วยเหลือ ป้องกันศัตรูพืช (ภารกิจที่ 6) รวบรวมส่งเสริม ภูมิปัญญาท้องถิ่น (ภารกิจที่4) การฝึกอบรม อาชีพ (ภารกิจที่7) การกระจายพันธุ์ (ภารกิจที่ 9) มุ่งสู่ เกษตรกร

ประโยชน์ที่ได้รับจากการถ่ายโอนภารกิจ ของจังหวัดนครราชสีมา มีศูนย์บริการ ฯที่ อบต. สร้างให้เป็นเอกเทศ คิดเป็น ร้อยละ ๔๐ โครงการที่ อบต. สนับสนุน ผ่านศูนย์บริการ ฯ ปี ๒๕๔๙ ได้รับงบประมาณ รวมทั้งสิ้น ๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท มีนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร ประจำ อบต . ในพื้นที่จังหวัด นครราชสีมา จำนวน ๑๑๕ คน

สวัสดี