การหาปริมาณของบอแรกซ์ และกรดบอริคในสารตัวอย่าง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

สมบัติของสารและการจำแนก
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การยืดอายุการวางจำหน่าย ของ ข่าอ่อนพร้อมบริโภค ด้วยวิธีการไม่ใช้สารเคมี ….. นางอุบล ชิน วัง …..
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
เกณฑ์การประเมินการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สาชาวิชาคอมพิวเตอร์
เป็นอาหารที่มีคุณค่า
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
งานประชาสัมพันธ์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. ธัญบุรี ฉบับที่ 193 ประจำเดือนกรกฎาคม 2558 การประชุมปิดภาคการศึกษา 2/2557 ผศ. ดร. สิริแข พงษสวัสดิ์ ให้เกียรติเป็นประธานกล่าวเปิดโครงการอบรมเชิง.
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
ของฝากสุรินทร์ : เม็ดบัวอบกรอบมาย, ผ้าไหม , ผักกาด ( Best 3 Souvenirs of Surin)
แบบจำลองอะตอม ครูวนิดา อนันทสุข.
โดย คุณครูพนิดา กระทุ่มนอก
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
การรักษาดุลภาพของเซลล์
เพลี้ยไฟมะม่วง ข่าวเตือนการระบาดศัตรูพืช Plant Protection Sakaeo
มาทำความรู้จักกับ เห็ดปลวกฟาน.
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ปฏิกิริยาเคมี ครูปฏิการ นาครอด.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
นางสาวอิศกฤตา โลหพรหม ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
กรด-เบส Acid & BASE.
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
การค้นคว้าด้านสมุนไพรและการให้ความสำคัญกับภูมิปัญญาท้องถิ่น 2
การอ่านและวิเคราะห์ บทความวิชาการ (ตัวอย่าง)
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 4 มกราคม 2562
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
ชั่วโมงที่ 32–33 สมบัติบางประการ ของคาร์โบไฮเดรต
เบส (Base) • สารที่ทําปฏิกริ ิยากบั กรดแล้วได้เกลอื • มีรสฝาด หรือ ขม
หมวด 4 การจัดการของเสียในสำนักงาน
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
ปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน
การแตกตัวของกรดอ่อน กรดอ่อน จัดเป็นอิเล็กโทรไลต์อ่อน เนื่องจากกรดอ่อนแตกตัวเป็นไอออนได้เพียงบางส่วน การแตกตัวของกรดอ่อนเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
การผุพังอยู่กับที่ โดย นางสาวเนาวรัตน์ สุชีพ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
ผู้นำเสนอ นางสาวปาริชาด สุริยะวงศ์
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
Catering SER 3102 วิชาการจัดเลี้ยง.
การทำน้ำส้มควันไม้ แหล่งเรียนรู้ ศูนย์เรียนรู้พัฒนาที่ดินตามแนว
อ.ดร.ชลายุทธ์ ครุฑเมือง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
ความเข้มข้นของสารละลาย
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
บทที่ 3 พิธีกรรม และ ศาสนพิธี ทางศาสนาพุทธ.
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การสื่อสารข้อมูล ผู้สอน...ศริยา แก้วลายทอง.
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
“ครอบครัว สุขสันต์ ช่วยกันเก็บออม”
เคมีอุตสาหกรรม พอลิเมอร์และผลิตภัณฑ์ของใช้ในชีวิตประจำวัน
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
วัฏจักรของน้ำ + พายุหมุนเขตร้อน
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การหาปริมาณของบอแรกซ์ และกรดบอริคในสารตัวอย่าง การหาปริมาณของบอแรกซ์ และกรดบอริคในสารตัวอย่าง รายวิชา ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ (4022617)

สมาชิกในกลุ่มมีดังนี้ นางสาวเบญจวรรณ ปะโปตินัง รหัส 5610111226006 นายปราสาทพร เจิมถาวร รหัส 5610111226022 นางสาวปรียานุช หมวกสังข์ รหัส 5610111226028 นางสาวเจือทิพย์ ชิณวงศ์ รหัส 5610111226042 ชั้นปีที่ 3 เอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป เสนอ อาจารย์สาวิตรี รุจิธนพานิช รายวิชา ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ (4022617) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 คณะวิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

วัตถุประสงค์ในการทดลอง เพื่อศึกษาหาปริมาณของบอแรกซ์ และกรดบอริคในสารตัวอย่าง

หลักการ บอแรกซ์ ( borex) Na2B4O7 . 10H2O เป็นเบสอ่อนสามารถหาปริมาณได้โดยการไทเทรตด้วยกรดเกลือ โดยใช้สารละลายเมธิลเรด ( methyl red ) เป็นอินดิเคเตอร์ มีสมการดังนี้ B4O72- (aq) + 2H3O+( aq) 4HBO2 ( aq) + H2O ……… ( 1 )

หลักการ ( ต่อ ) กรดบอริค ( boric acid ) HBO2 เป็นกรดอ่อนมาก มี Ka = 508 × 10-10 ซึ่งไม่สามารถที่จะไทเทรตได้ด้วยวิธีธรรมดา แต่กรดนี้ทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นโพลีไฮดริคแอลกอฮอล์ ( polyhydric alcohol ) แล้วทำให้เกิดกรดที่แก่ขึ้น และเป็น monoprotic acid complex ซึ่งสามารถไทเทรตกับสารละลายมาตรฐานของเบสได้โดยใช้ฟีนอลฟทาลีนเป็นอินดิเคเตอร์ มีสมการดังนี้ HBO2 + Polyhydric aicohol H3O+ + BO2- …….. ( 2 )

หลักการ ( ต่อ ) โพลีไฮดริคแอลกอฮอล์ ( polyhydric alcohol ) หลายชนิดที่สามารถเกิดสารเชิงซ้อนแบบข้างบนกับกรดบอริคได้ที่ใช้กันมาก ได้แก่ มานิทอล ( manitol) ซอร์บิทอล ( sorbitol ) ฟรุคโทส ( fructose ) กลีเซอรีน ( glycerine) เอธิลินไกลคอล ( ethylene glycol )

หลักการ ( ต่อ ) การไทเทรตสารละลาย HBO2 ที่มีความเข้มข้นระหว่าง 0.1 – 0.01 โมล / ลิตร ควรใช้ 30 -50 มก. ของมานิทอล หรือซอร์บิทอลต่อ 1 ลบ.ซม. ของสารละลาย HBO2ข้อดีของซอร์บิทอลคือ ละลายได้ดีกว่ามานิทอล

คุณสมบัติทางเคมีของกรดบอริค และบอแรกซ์ กรดบอริค (boric acid) กรดบอริคเป็นสารอนินทรีย์ชนิดหนึ่ง เกิดจากปฏิกิริยาการไฮโดรไลซิส ของโบรอนเฮไลด์ ( boron halide )หรือไฮดรายด์ ( hydride )ได้เป็นกรดบอริค ( B(OH)3 ) กรดบอริคมีลักษณะเป็นผลึกรูปเข็มสีขาว มีอะตอมของธาตุที่เป็นองค์ประกอบ ยึดติดกันด้วยพันธะไฮโดรเจน กรดบอริคสามารถละลายน้ำได้ และละลายได้ดีขึ้นเมื่อให้อุณหภูมิสูง

คุณสมบัติทางเคมีของกรดบอริค และบอแรกซ์ ( ต่อ) บอแรกซ์ (Borax) บอแรกซ์เป็นเกลือของสารประกอบโบรอน มีชื่อทางเคมีว่า โซเดียมบอเรท หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า น้ำประสานทอง หรือแพ่งแซ่ ที่ชาวจีนเรียก มีสูตรทางเคมีเป็น Na2B4O7 .10H2O เป็นสารอนินทรีย์สังเคราะห์ มีลักษณะเป็นผลึกใสโปร่งแสง มีรสหวานเล็กน้อย ละลายได้ในน้ำ กลีเซอรีน และแอลกอฮอล์ เป็นสารไม่มีสี ไม่มีกลิ่น

การคำนวณหาบอแรกซ์ หาความเข้นข้นของบอแรกซ์จาก 2M1 V1 = M2V2 เมื่อ M1 = ความเข้มข้นของบอแรกซ์ V1 = ปริมาณของสารตัวอย่าง M2 = ความเข้มข้นของ HCl V2 = ปริมาตรของ HCl หา% ของบอแรกซ์ = M1 x M . W (ของบอแรกซ์) x 100 น.น. เป็นกรัมของสารตัวอย่าง

การคำนวณหาบอริค สมการ 4 H3BO3 +2 NaOH Na2 B4O7 + 7H2 O การคำนวณ น้ำหนักตัวอย่าง X กรัม ปริมาตรของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซต์ 0.1 นอร์มัล V มิลลิลิตร เนื่องจากสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 0.1 นอร์มัล ปริมาตร 1 มิลลิลิตร ทำปฏิกิริยาพอดีกับกรดบอริค 0.0123 V น้ำหนักตัวอย่างอาหาร X กรัม มีปริมาณบอแรกซ์ = 0.0123 V น้ำหนักตัวอย่างอาหาร 100 กรัม มีปริมาณบอแรกซ์ = 0.123 V x 100 X = 0.71 V *** สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 0.1 นอร์มัล ปริมาตร 1 มิลลิลิตร ทำปฏิกิริยา พอดีกับกรดบอริค 0.0123 กรัม

สารละลายที่ใช้ ตอนที่ 1 การหาปริมาณสารบอแรกซ์ ( ทำทุกกลุ่มยกเว้น กลุ่มที่ 3) 1. สารละลายมาตรฐานกรดเกลือ (HCl) เข้มข้น 0.1 mol/l 2. สารละลายเมธิลเรด (methyl red ) เข้มข้น 0.1 g/100 cm3­ 3. สารละลายตัวอย่างบอแรกซ์เข้มข้น 0.001 M 500ml/gg

สารตัวอย่างอาหาร สารละลาย CuSO4 กลีเซอรีน สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ( NaOH ) เข้มข้น 0.1 M สารละลายฟีนอล์ฟทาลีน 1 ml

เครื่องแก้วและอุปกรณ์ บีกเกอร์ ปิเปต และลูกยาง บิวเรต ขวดวัดปริมาตร ขวดรูปชมพู่ เตาให้ความร้อน ขาตั้งที่หนีบ

เครื่องแก้วและอุปกรณ์ ( ต่อ ) หลอดหยด เครื่องชั่ง กรวย กระดาษกรอง โกรงบดสาร

วิธีการทดลอง ตอนที่ 1 การหาปริมาณสารบอแรกซ์ ( ทำทุกกลุ่มยกเว้น กลุ่มที่ 3) 2 3 1 ปิเปตสารละลายตัวอย่างบอแรกซ์ ( 25 Cm3) ทำปริมาตรสารละลาย ( 250 Cm3) ชั่งสาร ( 3.8 -4.2 g) 6 5 4 หยด methyl red 2-3หยด ปิเปตสารละลายตัวอย่างบอแรกซ์ลงในขวดรูปชมพู่ ( 250 Cm3 ) ไทเทรตกับ HCl ( สารละลายสีส้ม )

วิธีการทดลอง ตอนที่ 2 การหาปริมาณสารบอริค ( ทำเฉพาะกลุ่มที่ 3) 1 2 3 ตอนที่ 2 การหาปริมาณสารบอริค ( ทำเฉพาะกลุ่มที่ 3) 1 2 3 บดสารตัวอย่างอาหารให้ละเอียด เติม CuSO4 3 ml ชั่งสารตัวอย่าง 15 g 6 5 4 ต้มสารตัวอย่าง อาหารจนเดือด ล้างด้วยน้ำร้อน 4-5 ครั้ง กรองสารตัวอย่าง

ตอนที่ 2 การหาปริมาณสารบอริค ( ทำเฉพาะกลุ่มที่ 3) ( ต่อ ) ตอนที่ 2 การหาปริมาณสารบอริค ( ทำเฉพาะกลุ่มที่ 3) ( ต่อ ) 7 8 9 11 10 ไทเทรตกับ NaOH จนเกิดสีฟ้าอมม่วงอีกครั้ง เติมกลีเซอรีน 10 ml